Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWishirata Worathadasawaten
dc.contributorวิชิรตา วรธาดาสวัสดิ์th
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:58Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:58Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5835-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop the mixed educational supervision model to enhance active learning management of secondary school teachers. The research methodology was divided into 3 steps as follows: 1) a study of the active learning management conditions of secondary school teachers from 375 teachers, Interviews with 5 experts and studying 2 schools as best practices. The research instruments were questionnaire and interview 2) creating and validating the mixed educational supervision model to enhance active learning management of secondary school teachers by 9 experts through focus group discussion and 3) an evaluating of the mixed educational supervision model to enhance active learning management of secondary school teachers from 175 school administrators and supervisors in 9 provinces of the lower north  by using feasibility and utility questionnaire. The results of the research were as follows: 1) the mixed educational supervision model to enhance active learning management of secondary school teachers consisted of 5 components: (1) Principles of the model (2) Purpose of the model (3) Persons and roles of those involved in supervision (4) Supervision Process and  (5) Results of Supervision 2) the developed the mixed educational supervision model to enhance active learning management of secondary school teachers showed the feasibility, overall, was at a highest level, and the usefulness, overall, was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูและแนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยการศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก จากครูผู้สอน จำนวน 375 คน สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน และการศึกษาจากสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 2 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยการสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และ 3) การประเมินรูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาจากผู้บริหารสถานศึกษาและศึกษานิเทศก์ จำนวน 175 คน โดยใช้แบบสอบถามความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา มี 5 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 หลักการของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 3 ผู้ที่เกี่ยวข้องและบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนิเทศ องค์ประกอบที่ 4 กระบวนการนิเทศ และ องค์ประกอบที่ 5 ผลลัพธ์ของการนิเทศ และรูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีความเป็นไปได้ของรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและความเป็นประโยชน์ของรูปแบบในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการนิเทศth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectครูโรงเรียนมัธยมth
dc.subjectEducational Supervision Modelen
dc.subjectActive Learningen
dc.subjectSecondary Teachersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleรูปแบบการนิเทศการศึกษาแบบผสมผสานเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.titleTHE MIXED EDUCATIONAL SUPERVISION MODEL TO ENHANCE ACTIVE LEARNING MANAGEMENT OF SECONDARY SCHOOL TEACHERSen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WishirataWorathadasawat.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.