Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5833
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kanchana Huadsri | en |
dc.contributor | กาญจนา ฮวดศรี | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T04:06:58Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T04:06:58Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5833 | - |
dc.description.abstract | The main objectives of research are develop a model for developing the competency of teachers in special education centers under Special Education Bureau The research was divided in to 3 stages as follow. The first step is studying of needs and guidelines for the development of teachers' competency at Special Education Centers under Special Education Bureau, consisting of 3 steps. Step 1.1 is studying of needs for the development of special education center teachers' competencies by interviewing 17 directors of Special Education Centers in the northern region and 254 teachers, totaling 271 people. Step 1.2 Study of the development guidelines for special education center teacher competency by studying from 3 special education centers that have best practices (Best Practice). Step 1.3 The study of the development guidelines for teacher’s competency in special education centers by interviewing 5 experts. The second step are creation and verification of the competency development model for teachers in special education centers, consist of 2 sub-steps. 2.1 Drafting the model. Step 2.2 Checking the suitability of the model by group discussion of 9 experts and the third step, is evaluation of the feasibility and usefulness of the teacher competency development model for special education centers by use the questionnaire to director of special education centers 77 people. The results showed that a model for the development of teachers' competencies in special education centers under Special Education Bureau consists of 6 components. Component 1 : the principle of the model. Component 2: the purpose of the model. Component 3: is supporting factors consist of the policy and organizational structure, Budget, Educational institution administrators, Curriculum and Related personnel. Component 4: the teacher competency development process consists of 3 steps: analysis of development needs , planning development operations Monitoring and Evaluation.Component 5: the methods for developing teacher competencies consist of 5 methods: workshop training, self-learning, using a mentor to teach work Professional Learning Community Process (PLC) and study Visit. Component 6: the competencies for special education center teachers consist of 6 competencies, the competencies in special education management, competencies of spiritual Competence as special education teacher, competencies in screening and assessment of children with special needs, competencies in learning management and potential development of children with special needs, performance in building networks and teams in special education management. The evaluation results of feasibility and usefulness of teacher competency development model for special education centers under the Special Education Bureau. The director of special education centers 77 people has an opinion that implementing the pattern there is a possibility and the most useful. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยแบ่งวิธีการดำเนินการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย 3 ขั้น ขั้นที่ 1.1 การศึกษาความต้องการการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ โดยการสอบถามผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษในภาคเหนือ จำนวน 17 คน และครู จำนวน 254 คน รวมทั้งสิ้น 271 คน ขั้น 1.2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ โดยการศึกษาจากศูนย์การศึกษาพิเศษที่มีแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง ขั้น 1.3 การศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย 2 ขั้นย่อย ขั้นที่ 2.1 การยกร่างรูปแบบ ขั้นที่ 2.2 การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ โดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ โดยการสอบถามผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ จำนวน 77 คน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 หลักการของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบายและโครงสร้างขององค์กร ด้านงบประมาณ ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ด้านหลักสูตร ด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบที่ 4 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะครู ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความต้องการในการรพัฒนา การวางแผนการพัฒนา การดำเนินการพัฒนา การติดตามและประเมินผล องค์ประกอบที่ 5 วิธีการพัฒนาสมรรถนะครู ประกอบด้วย 5 วิธีการ ได้แก่ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้พี่เลี้ยงสอนงาน กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) การศึกษาดูงาน องค์ประกอบที่ 6 สมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ ได้แก่ สมรรถนะด้านการจัดการศึกษาพิเศษ สมรรถนะด้านจิตวิญญาณความเป็นครูการศึกษาพิเศษ สมรรถนะด้านการคัดกรองและประเมินความสามารถเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ สมรรถนะด้านการวางแผนการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ สมรรถนะด้านการสร้างเครือข่ายและทีมงานในการจัดการศึกษาพิเศษ ผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ จำนวน 77 คน มีความเห็นว่า ในการนำรูปแบบไปใช้มีความเป็นไปได้ และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ | th |
dc.subject | ครูศูนย์การศึกษาพิเศษ | th |
dc.subject | สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ | th |
dc.subject | Competency Development Model | en |
dc.subject | Special Education Center teacher | en |
dc.subject | Special Education Bureau | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูศูนย์การศึกษาพิเศษสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ | th |
dc.title | THE MODEL FOR DEVELOPMENT OF TEACHER COMPETENCIES IN SPECIAL EDUCATION CENTERS FOR UNDER SPECIAL EDUCATION BUREAU | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KanchanaHuadsri.pdf | 5.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.