Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5820
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Natthawat Duwngchun | en |
dc.contributor | ณัฐวัฒน์ ด้วงฉุน | th |
dc.contributor.advisor | Tipparat Sittiwong | en |
dc.contributor.advisor | ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T04:06:56Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T04:06:56Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5820 | - |
dc.description.abstract | The present research aims to 1) construct a learning and teaching model through a professional learning community to enhance the teaching performance of Technical Education students in a higher education institution, 2) implement the learning and teaching model through a professional learning community using digital technology to enhance teaching performance, and 3)evaluate the satisfaction of Technical Education students toward the learning and teaching model through a professional learning community to enhance teaching performance. The research samples for data collection were 33 fourth-year Technical Education students majoring in Mechanical Engineering and Industrial Engineering at the Faculty of engineering, Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok, who enrolled in the language and culture course in the second semester of the Academic Year 2022. The results revealed the following: 1. The learning and teaching model construction through a professional learning community using digital technology contains three components as follows: 1) Input includes instructor roles, learner roles, learning media, supervision, classmates, digital technology, contents, and pedagogy. 2) Process can be divided into three stages, which are the introduction, teaching, and conclusion. The introduction includes team building and problem identification. The teaching stage includes brainstorming solutions to the problem, planning and designing the process, criticizing and sharing, and implementing the plan or learning management. The conclusion stage includes discussion and reflection after the practice and conclusion to disseminate the learning management plan. The construction of a professional learning community includes 1) shared norms and values, 2) shared responsibility of student learning, 3) collaboration, 4) co-leadership, 5) professional learning and development, and 6) supporting the organizational structure and relations of personnel. 3) Output, which refers to teaching capability, includes 1) teaching plan, 2) application, design, development, and preparation of teaching media, 3) learning and teaching activity organization, and 4) evaluation and assessment. 2. The evaluation of teaching performance using digital technology of Technical Education students in a higher education institution showed a high level of appropriateness. 3. The students’ evaluation of satisfaction toward learning and teaching through a professional learning community using digital technology to enhance teaching performance for Technical Education students in a higher education institution displayed a high level of satisfaction. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา 2) ทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมสาขาวิศวกรรมเครื่องกล และสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ชั้นปีที่ 4 จำนวน 33 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาและวัฒนธรรม ในภาคเรียนที่ 2/2565 ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบของการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 Input ซึ่งประกอบไปด้วย บทบาทผู้สอน (Instructure roles) ผู้เรียน (Learner roles) สื่อการจัดการเรียนรู้ (Learning Media) การนิเทศการสอน (Supervision) เพื่อนร่วมชั้นเรียน (Classmate) เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เนื้อหา (Contents) วิธีการสอน (Pedagogy) องค์ประกอบที่ 2 Process แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนำ ขั้นสอน และขั้นสรุป ซึ่งมีรายละเอียด ขั้นนำ ประกอบไปด้วย 1) สร้างทีม 2) กำหนดปัญหา ขั้นสอน ประกอบไปด้วย 3) ร่วมกันหาแนวทางการแก้ปัญหา 4) วางแผนและออกแบบกระบวนการ 5) วิพากษ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6) ลงมือปฏิบัติตามแผน/จัดการเรียนรู้ และขั้นสรุป ประกอบไปด้วย 7) สนทนาสะท้อนผลหลังการปฏิบัติ 8) สรุปเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้ โดยรวมกลุ่มสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Community) มีกระบวนการ ดังนี้ 1) การมีบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 3) การร่วมมือรวมพลัง 4) ภาวะผู้นำร่วม 5) การเรียนรู้และการพัฒนาวิชาชีพ 6) การสนับสนุนการจัดลำดับโครงสร้างและความสัมพันธ์ของบุคลากร และองค์ประกอบที่ 3 คือ Output คือ ความสามารถในด้านการสอน ประกอบไปด้วย 1) การวางแผนการสอน 2) การประยุกต์/ออกแบบ/พัฒนาและเตรียมสื่อการเรียนการสอน 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ 4) การวัดและประเมินผล 2. ผลการประเมินความสามารถในด้านการสอนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา โดยรวมพบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา โดยผู้เรียน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ | th |
dc.subject | เทคโนโลยีดิจิทัล | th |
dc.subject | ความสามารถในด้านการสอน | th |
dc.subject | Professional Learning Community | en |
dc.subject | Technology Digital | en |
dc.subject | Teaching Ability | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านชุมชนเรียนรู้วิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อส่งเสริมความสามารถในด้านการสอน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมในสถาบันอุดมศึกษา | th |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF TEACHING STYLES THROUGH PROFESSIONL COMMUNITY LEARNING BY USING DIJITAL TECHNOLOGY TO PROMOTE TEACHING ABILITY FOR STUDENTS OF INDUSTRIAL EDUCATION COURSES IN HIGHER EDUCATION INSTITUTIONS | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tipparat Sittiwong | en |
dc.contributor.coadvisor | ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | tipparats@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tipparats@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Technology and Communications | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NatthawatDuwngchun.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.