Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNapatsanun Rainthongen
dc.contributorนภัสนันท์ เหรียญทองth
dc.contributor.advisorPudtan Phanthunaneen
dc.contributor.advisorพุดตาน พันธุเณรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T03:58:03Z-
dc.date.available2023-10-31T03:58:03Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5784-
dc.description.abstractThe aim of this study was to evaluate the screening process of poor students based on the application of CIPP evaluation models that consist of context, input, process, product, and cost analysis of that screening process. The samples consisted of 42 teachers in the educational opportunity expansion schools within Primary Education Service Area Offices region 1 and 2 of Sukhothai. The instruments used were questionnaires and in-depth interviews and cost interview. The information from the interviews was then analyzed by using content analysis and calculating average cost. The results from the administrators and teachers showed that the objective of the screening process was appropriate, but difficult to work in practice. Also, the screening process of poor students did not assist in preventing dropout students. In terms of inputs, most teachers revealed that the current screening criteria were clearer than the original criteria that only focus on income factors. However, there was a problem with factors that indicate poverty, especially in rural areas. The period of the screening process of poor students was insufficient, and the website application was unstable. Additionally, the government budget was not allocated to schools to conduct the screening process of poor students. For the product aspect, the teachers indicated that they were able to screen the entire number of poor students in the school, but the students who got the subsidy did not match the target groups as expected. As the result of mismatching, it can be evaluated that the output did not meet the project's objective of identifying poor students. There were several problems with the screening process and criteria, probably due to the beginning years and insufficient supervision. The results of the current study provided suggestions to improve process and criteria to identify poor students in particular in the rural areas. As for the cost analysis, it was found that the average cost the screening process of a poor students was 60 baht, this is an issue that may be recommended to the Ministry of Education to allocate additional funds for a more efficient operation.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินกระบวนการคัดกรองนักเรียนยากจน โดยประยุกต์ใช้แนวทางของ CIPP Model ที่ประกอบไปด้วย ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ วิเคราะห์ต้นทุนการคัดกรองนักเรียนยากจน กลุ่มเป้าหมายของการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยครูและผู้บริหาร รวมทั้งหมด 42  คน จาก จากโรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 2 โรงเรียนในเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุโขทัยเขต 1 และเขต 2 ผู้วิจัยลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิค การวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์ต้นทุน โดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์ต้นทุนเฉลี่ยทางเศรษฐศาสตร์ต่อนักเรียนยากจน 1 คน ผลการประเมิน พบว่า ด้านบริบท ผู้บริหารและครูเห็นว่า วัตถุประสงค์ของกระบวนการคัดครองนักเรียนยากจน มีความเหมาะสม แต่ในทางปฏิบัติยังไม่สามารถทำให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ได้จริง อีกทั้งระบบคัดกรองนักเรียนยากจนไม่ได้มีส่วนในการช่วยเหลือ และการติดตามนักเรียนออกกลางคัน  ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ครูส่วนใหญ่เห็นว่าเกณฑ์คัดกรอง มีความละเอียด และ ความชัดเจนขึ้นกว่าเกณฑ์เดิมที่เน้นไปที่ปัจจัยรายได้เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัญหาเรื่องปัจจัยที่บ่งชี้ถึงความยากจน โดยเฉพาะในเขตชนบท ระยะเวลาการคัดกรองไม่เพียงพอ และเว็บแอปพลิเคชันมีความไม่เสถียร และไม่มีการจัดสรรงบประมาณจากทางภาครัฐให้กับโรงเรียนในการดำเนินกระบวนการคัดกรองนักเรียนยากจน     ด้านผลผลิต ครูให้ความเห็นว่าโรงเรียนสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้ครบทั้งจำนวนนักเรียนของโรงเรียน แต่นักเรียนที่ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนบางส่วนไม่ตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่ครูคาดการณ์ไว้ ทำให้ผลผลิตไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการที่ว่าเพื่อระบุตัวนักเรียนยากจน กระบวนการคัดกรองอาจจะมีปัญหาหลายประเด็น เนื่องจากเป็นการใช้ในปีแรกและไม่มีการนิเทศที่เพียงพอ ผลการศึกษาข้างต้นอาจเป็นข้อเสนอแนะการพัฒนาเกณฑ์ และกระบวนการการคัดกรองนักเรียนยากจนโดยเฉพาะในเขตชนบท ในส่วนการวิเคราะห์ต้นทุนในการคัดกรองนักเรียนยากจน พบว่ามีค่าต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับ 60 บาท ซึ่งเป็นประเด็นที่อาจจะเป็นข้อเสนอแนะต่อกระทรวงศึกษาต่อไปในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกระบวนการคัดกรองth
dc.subjectนักเรียนยากจนth
dc.subjectเงินอุดหนุนth
dc.subjectการประเมินth
dc.subjectScreening Processen
dc.subjectPoor studentsen
dc.subjectSubsidyen
dc.subjectEvaluationen
dc.subject.classificationEconomicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEconomicsen
dc.titleการประเมินกระบวนการคัดกรองนักเรียนยากจนในโรงเรียนขยายโอกาสth
dc.titleEvaluation of screening process for poor students of expansion schoolsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPudtan Phanthunaneen
dc.contributor.coadvisorพุดตาน พันธุเณรth
dc.contributor.emailadvisorpudtanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpudtanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Economics (M.Econ.)en
dc.description.degreenameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Economicsen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาเศรษฐศาสตร์th
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NapatsanunRainthong.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.