Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5732
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Manasikan Sahnguanthiraphong | en |
dc.contributor | มนสิกานต์ สงวนธีรพงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Suriya Chapoo | en |
dc.contributor.advisor | สุริยา ชาปู่ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T02:12:58Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T02:12:58Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5732 | - |
dc.description.abstract | This article aimed to study (1) study guidelines socio-scientific issues (SSI) based-learning on creatures and environment (2) study the development of critical thinking skills after receiving the learning management for 5th grade students. The research methodology is qualitative action research and using constructivism, socio-scientific issues (SSI), and critical thinking of Watson and Glaser. The target group was 24 of 5th grade students of municipal school in Sukhothai during academic year 2022. The research tools were 1) lesson plans 2) reflections 3) activity worksheets 4) critical thinking assessment forms. The data analysis was content analysis and content validation by method & resource triangulations. The research results were found as follows; 1. Guidelines of socio-scientific issues (SSI) based-learning consisted of 1. Identifying 2. Recognizing 3. Investigating 4. Review and 5. Reflecting 2. The result of critical thinking development during learning management 3 action cycles was excellent 80.74 and the result of critical thinking assessment after learning management for students was good at 82.08 percent. This result of the research is guidelines socio-scientific issues (SSI) based-learning to develop critical thinking skills for primary and secondary students continually. | en |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และ 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการเชิงคุณภาพ ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามแนวคิดของวัตสันและเกลเซอร์ เป็นกรอบการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดสุโขทัย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 24 คน ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ 3) ใบกิจกรรม และ 4) แบบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นระบุประเด็นที่ต้องการศึกษา 2. ขั้นพิจารณาประเด็น 3. ขั้นสืบค้นและรวบรวมข้อมูล 4. ขั้นอภิปรายขยายความ และ 5. ขั้นสะท้อนคิด 2. ผลการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณระหว่างการจัดการเรียนรู้ทั้ง 3 วงจรปฏิบัติการ อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.74 และผลการประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับ ดี คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 82.08 ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ จะเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาต่อไป | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การคิดอย่างมีวิจารญาณ | th |
dc.subject | ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ | th |
dc.subject | สิ่งมีชีวิต | th |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม | th |
dc.subject | Critical Thinking | en |
dc.subject | Socio Scientific Issues | en |
dc.subject | Creatures | en |
dc.subject | Environment | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารญาณ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.title | The Development of Critical Thinking Using Socio-Scientific Issues Based-Learning on Creatures and Environment toward 5th grade Students. | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Suriya Chapoo | en |
dc.contributor.coadvisor | สุริยา ชาปู่ | th |
dc.contributor.emailadvisor | suriyac@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | suriyac@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ManasikanSahanguanthiraphong.pdf | 3.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.