Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPornchanok Gunwaien
dc.contributorพรชนก กันไวth
dc.contributor.advisorNattachet Pooncharoenen
dc.contributor.advisorณัฐเชษฐ์ พูลเจริญth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-09-25T02:12:57Z-
dc.date.available2023-09-25T02:12:57Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5730-
dc.description.abstractThis research aims to create a game-based learning management model in Social Studies’ Economics model for Grade 3 students. objectives are: 1) to study the current situation and obstacles in learning management to develop analytical thinking skills in Social Studies subjects 2) to create a game-based learning management model in Social Studies’ Economics model for Grade 3 students which emphasizes the learning management process using games as a basis together with the development of educational purpose game ( A training manual for game - based learning management) to attract student participation in self-learning. Through playing, learners will gain skills, knowledge and satisfaction. The takes place at 3 schools under administration of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1, Thong Saen Khan District Uttaradit Province, 3 schools consisted of Wang Pong Damrong Wit School, Ban Rong Luek School and Ban Wang Wang Pueng School (Prachanukul), with a target group of 26 people, consisted of 3 teachers and 26 students. There are 2 types of research tools: 1) Experimental tool will rely on Game-Based Learning activities for developing analytical thinking skills. 2) Data-collection tool will be the quantitative data from percentage, mean and standard deviation statistics. As for the qualitative data, the research content analysis and descriptive writing synthesis approaches.   The result shows of the research revealed that the students had an overall critical thinking skill development in a fair level and a critical thinking skill development of 80.16% due to the use of game-based learning management. Allowed them to learn and play at the same time. Therefore, students had positive learning behaviors and higher critical thinking skills, which successfully created a “game-based learning management model in Social Studies’ Economics model for Grade 3 students.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ในวิชาสังคมศึกษา สาระเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และปัญหาของการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ในรายวิชาสังคมศึกษา สาระเศรษฐศาสตร์ และ 2) เพื่อสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานในรายวิชาสังคมศึกษา สาระเศรษฐศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ร่วมกับการพัฒนานวัตกรรมเกมเพื่อการศึกษา (คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน Game based Learning) เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ลงมือเล่นและฝึกปฏิบัติในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยในขณะที่ลงมือเล่นผู้เรียนจะได้รับทักษะ ความรู้ และความพึงพอใจ พื้นที่วิจัยคือ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 3 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนวังโป่งดำรงวิทย์ โรงเรียนบ้านร้องลึก และโรงเรียนบ้านวังวังปรากฏ(ประชานุกูล) โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 26 คน ประกอบด้วยครูผู้สอน 3 คน และนักเรียน 26 คน ด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ประเภท คือ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ เกมในการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน Game Based Learning) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิธีการวิเคราะห์การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์เขียนบรรยายเชิงพรรณนา     ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีผลการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยภาพรวมที่ระดับ พอใช้ และมีผลพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ร้อยละ 80.16 เนื่องมาจากการใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ซึ่งเป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่เรียนและเล่นไปพร้อมกัน ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้เชิงบวกและทักษะการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น ก่อให้เกิด “รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานในวิชาสังคมศึกษา สาระเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3”th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐานth
dc.subjectทักษะการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectสาระเศรษฐศาสตร์th
dc.subjectGame-Based Learning management modelen
dc.subjectAnalytical thinkingen
dc.subjectEconomics Subjecten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ในวิชาสังคมศึกษา สาระเศรษฐศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.titleGAME-BASED LEARNING MANAGEMENT MODEL IN ECONOMICS SUBJECT OF PRIMARY 3 STUDENTSen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNattachet Pooncharoenen
dc.contributor.coadvisorณัฐเชษฐ์ พูลเจริญth
dc.contributor.emailadvisorNattachetp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorNattachetp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PornchanokGunwai.pdf14.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.