Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJinnita Tabtimen
dc.contributorจิณณ์ณิตา ทับทิมth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-09-25T02:12:57Z-
dc.date.available2023-09-25T02:12:57Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5729-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the measurement and evaluation of mathematic teachers under the secondary educational service area office Uttaradit. The samples were 105 mathematic teachers from The Secondary Educational Service Area Office Uttaradit.  acquired by Stratified Purposive sampling.  The tool used for data was 5 rating scale questionnaires 35 items about the reality, and expected of the characteristics of mathematic teachers secondary schools in the Secondary Educational Service Area Office Uttaradit. The data was analyzed by means, standard derivation (SD) The second step was the study about guidelines of mathematic measurement and evaluation skills of mathematic  teachers’ development  the secondary educational service area office Uttaradit.The data was collected by using interviewing method which was held by the 4 qualified experts.  The data were analyzed by content analysis.  The results  were  found that: 1. the highest score of the means was setting the objectives of the measurement and evaluation, followed by the feedback of measurement and evaluation. The lowest score was measurement tools and quality tests 2.  the study of guidelines of mathematic measurement and evaluation skills of mathematic teachers’ development the secondary educational service area office Uttaradit. found that the Educational Service Area Office should provide training. Workshop for development of measurement and evaluation skills of mathematic teachers. Mathematic teachers should study from learning resources and participate in Professional Learning Community (PLC) in order to develop mathematic teachers' learning management and measurement and evaluation in mathematic    en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์และศึกษาแนวทางการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนรายวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทั้งสิ้น 18 โรงเรียน จำนวน 105 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 35 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) 1.  ผลการศึกษาการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ด้านการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวัดและประเมินผล รองลงมาได้แก่ ด้านการสะท้อนการวัดและประเมินผล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการดำเนินการสร้าง และหาคุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมินผล 2.  ผลการศึกษาแนวทางการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า ควรสนับสนุนให้ครูมีการวิเคราะห์จุดมุ่งหมาย และพฤติกรรมต้องการในการวัดและประเมินผลทุกครั้งว่าต้องการวัดนักเรียนเพื่อสิ่งใด มีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และสะท้อนเครื่องมือการวัดและประเมินผลหลังจากการใช้ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการวัดและประเมินผลนักเรียนของครูคณิตศาสตร์ และผู้บริหารสถานศึกษาต้องส่งเสริมให้ครูคณิตศาสตร์เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนในชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวัดและประเมินผลนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการวัดและประเมินผลการศึกษาth
dc.subjectครูคณิตศาสตร์th
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.subjectMeasurement and Evaluationen
dc.subjectMathematics Teachersen
dc.subjectsecondary schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleแนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินผลนักเรียนสำหรับครูคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์th
dc.titleTHE DEVELOPMENT MEASUREMENT AND EVALUATION OF MATHEMATIC TEACHERS IN UTTARADIT SECONDARY SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE PHITSANULOK UTTARADITen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JinnitaTabtim.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.