Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5725
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Piyathida Homsiri | en |
dc.contributor | ปิยธิดา หอมศิริ | th |
dc.contributor.advisor | Monasit Sittisomboon | en |
dc.contributor.advisor | มนสิช สิทธิสมบูรณ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T02:12:56Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T02:12:56Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5725 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were : 1) to construct and assess the efficiency of learning activity through Vlog Project to enhance Chinese speaking skill for grade 9 students at the level of 80/80 2) to study the outcome of using the learning activity through Vlog Project 2.1) to compare the Chinese speaking skill before and after using the learning activity through Vlog Project 2.2) to compare the Vlog making ability by using the learning activity through Vlog Project to reach a 80 percent criterion 2.3) to study the result of learning activity through Vlog Project. The research procedure comprised with 2 steps of research and development were as follows: Step 1: Constructing and assessing the effectiveness of the learning activity through Vlog Project. That certified the model by five experts then tried out with 3 students of grade 9 students who enrolled in Chinese 4 course at Chalermkwansatree School, Phitsanulok to semester the appropriateness of content, language and time. After revised the model, it was tried out with 12 students of grade 9 students who enrolled in Chinese 4 course at Chalermkwansatree School, Phitsanulok to study the effectiveness of the learning activity through Vlog Project to standard criteria of 80/80. The tool applied in the research include the learning activity through Vlog Project. The data were analyzed by Mean, Standard Deviation and E1/E2 Step 2: to study outcomes of using the learning activity through Vlog Project. The sample of the classroom unit-based simple random sampling consisted of 22 students who enrolled in Chinese 4 course of grade 9 students studying in the second semester of the academic year 2022 in Chalermkwansatree School, Phitsanulok. The research design was one group pretest-posttest design. The result of the study revealed that : 1. Learning activity through Vlog Project had 5 steps were as follow; 1) Conceptualizing 2) Brainstorming 3) Articulation 4) Monitoring 5) Evaluating. Learning activity through Vlog Project had appropriate quality with highest level (Mean = 4.96, S.D. = 0.09) and was found to be efficient at the percentage level of 79.58/80.56 2. Result of using the learning activity through Vlog Project 2.1 Chinese speaking skill in the posttest were higher than that of the pretest with statistic level of .05 2.2 Vlog making ability in the posttest were higher than the 80% criterion with statistic level of .05 2.3 Student can speak Chinese more correctly and fluently with obvious improvement of task completion, delivery and language Use. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2.1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาจีน ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2.2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสร้าง Vlog กับเกณฑ์ร้อยละ 80 2.3) เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนามี 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยพิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน จากนั้นนำไปทดลองใช้กับนักเรียนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาจีน 4 จ20270 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหา ภาษาและเวลา จากนั้นปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดลองใช้กับนักเรียนจำนวน 12 คน เพื่อประเมินประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สูตร E1/E2 ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาภาษาจีน 4 จ20270 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้อง นักเรียน 22 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ใช้แบบแผนการทดลอง One-Group Pretest-Postest Design ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การสร้างกรอบความคิด (Conceptualizing) ขั้นที่ 2 การระดมความคิด (Brainstorming) ขั้นที่ 3 การออกเสียงภาษาจีน (Articulation) ขั้นที่ 4 การตรวจสอบ (Monitoring) ขั้นที่ 5 การประเมิน (Evaluating) ซึ่งมีผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean= 4.96, S.D. = 0.09) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 79.58/80.56 2. ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project 2.1 ทักษะการพูดภาษาจีนของนักเรียนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 ความสามารถในการสร้าง Vlog ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3 นักเรียนสามารถพูดภาษาจีนได้อย่างถูกต้องและชัดเจนมากยิ่งขึ้น มีพัฒนาการสูงขึ้นทั้งในด้านความสมบูรณ์ของภาระงาน การพูดถ่ายทอดและ การใช้ภาษา | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้ | th |
dc.subject | Vlog Project | th |
dc.subject | ทักษะการพูดภาษาจีน | th |
dc.subject | ความสามารถในการสร้าง Vlog | th |
dc.subject | Learning Activity | en |
dc.subject | Vlog Project | en |
dc.subject | Chinese Speaking Skill | en |
dc.subject | Vlog Making Ability | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers with subject specialisation | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน Vlog Project เพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาจีนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | th |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITY THROUGH VLOG PROJECT TO ENHANCING CHINESE SPEAKING SKILL FOR GRADE 9 STUDENTS | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Monasit Sittisomboon | en |
dc.contributor.coadvisor | มนสิช สิทธิสมบูรณ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | monasits@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | monasits@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PiyathidaHomsiri.pdf | 3.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.