Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5724
Title: การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบโค้ดดิ้งโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
THE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES BY USING DESIGN THINKING APPROACH WITHOUT A COMPUTER WITH AUGMENTED REALITY TO ENHANER THE ABILITY, THINK CRITICALLY FOR PRIMARY 6 STUDENS.
Authors: Apinya Phanwong
อภิญญา ผ่านวงษ์
Tipparat Sittiwong
ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์
Naresuan University
Tipparat Sittiwong
ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์
tipparats@nu.ac.th
tipparats@nu.ac.th
Keywords: 1.แนวคิดเชิงออกแบบ 2.โค้ดดิ้งโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 3.เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง 4. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
1. design thinking 2. without a computer 3. augmented reality 4. enhance the ability
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objectives of this research were to (1) create and optimize learning activities by using design thinking approach without a computer with augmented reality to enhance the ability, think critically developed using criteria with a target of 80/80, (2) To compare the ability to think critically before and after learning activities by using design thinking approach without a computer with augmented reality.(3) to study student satisfaction by developing learning activities. The sample consisted of 17 students in Grade 6, Semester 1 of the academic year 2022 at Wat Hang Lai School. Learning activities using design concepts Critical thinking ability test and student satisfaction questionnaire Statistics used to analyze data include means, standard deviations, etc. The results of the study showed that: 1. Leaning activities by using design thinking approach unplugged coding with augmented reality to promote the ability, think critically for primary 6 students and the score met the criteria 81.03 / 80.78 2. Primary 6  students have a higher ability to think critically post-test than pre-test. with a statistically significant .05 score. 3. Primary 6 Students were satisfied with their learning activities, with the average at the highest score. ( x- = 4.80, S.D. = 0.44)
การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) สร้างและหาประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบโค้ดดิ้งโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบโค้ดดิ้งโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวัดหางไหล จำนวน 17 คน ได้มาการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test แบบ Dependent Sample) ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบโค้ดดิ้งโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.03 / 80.78 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยความสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ โดยภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด โดยมีค่า ( x- = 4.80, S.D. =0.44)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5724
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ApinyaPhanwong.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.