Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5723
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Natthaphon Makjeen | en |
dc.contributor | ณัฐพล มากจีน | th |
dc.contributor.advisor | Sirinapa Kijkuakul | en |
dc.contributor.advisor | สิรินภา กิจเกื้อกูล | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-25T02:12:55Z | - |
dc.date.available | 2023-09-25T02:12:55Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5723 | - |
dc.description.abstract | This research purpose was to study a learning management approach taking Model – Eliciting Activities into account that encourages mathematical communication ability in the patterns of 15 sixth-grade students in a small school in Sukhothai Province. The research instruments were lesson plans, reflective forms, learning notes, interview forms, observations, and a written communicative test. The data were analyzed through content analysis and checked for trustworthiness by method triangulation. The results showed that the Model – Eliciting Activities management needed four steps as follows: 1) reading an article and answering questions; 2) organizing a problematic situation for learning; 3) proposing solutions; and 4) evaluating those solutions. The teachers must choose and design the situation, as written in the article, to suit the age of the students and to connect with their real lives, and use simple provocative questions to correspond to the situation. These then encourage the students to communicate mathematical concepts by writing and speaking about them. The students were found to be better at writing than speaking. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนว Model-Eliciting Activities เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เรื่อง แบบรูป ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนขนาดเล็กแห่งหนึ่ง จังหวัดสุโขทัย จำนวน 15 คน การวิจัยนี้ใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 3 วงจรปฏิบัติการ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ด้านการเขียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนว Model – Eliciting Activities มี 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการอ่านบทความ และตอบคำถามเตรียมความพร้อม 2) ขั้นการจัดสถานการณ์ปัญหา 3) ขั้นการนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา และ 4) ขั้นการประเมินผล โดยครูผู้สอนต้องออกแบบสถานการณ์ในบทความให้เหมาะสมกับวัยของนักเรียน เชื่อมโยงกับชีวิตจริงของนักเรียน และควรตั้งคำถามกระตุ้นโดยเป็นคำถามง่ายๆ ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนสื่อสารแนวคิดทางคณิตศาสตร์ได้ดี ทั้งการเขียนและการพูด ทั้งนี้การวิจัยพบว่า นักเรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการเขียนได้ดีกว่าความสามารถในการพูด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ตามแนว Model - Eliciting Activities | th |
dc.subject | ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน | th |
dc.subject | Model - Eliciting Activities Learning Approach | en |
dc.subject | Mathematical Communication Ability | en |
dc.subject | Classroom Action Research | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้ตามแนว model-eliciting activities เรื่อง แบบรูป ที่ส่งเสริมความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.title | MODEL-ELICITING ACTIVITIES LEARNING APPROACH TO ENCOURAGE A MATHEMATICAL COMMUNICATION ABILITY IN PATTERN OF THE SIXTH GRADE STUDENTS | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sirinapa Kijkuakul | en |
dc.contributor.coadvisor | สิรินภา กิจเกื้อกูล | th |
dc.contributor.emailadvisor | sirinapaki@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sirinapaki@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NatthaphonMakjeen.pdf | 6.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.