Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChirasak Chankanen
dc.contributorจิรศักดิ์ จันกันth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-09-25T02:12:55Z-
dc.date.available2023-09-25T02:12:55Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5721-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop the model to enhance entrepreneurial competency of students in schools under the Office of the Vocational Education Commission. The research methodology was divided into 3 steps as follows : 1) a study of development processes, development methods, and entrepreneurial competencies of students in educational institutes under the Office of the Vocational Education Commission by studying related documents and research. Interviewed 6 experts and interviewed 3 best practice schools. 2) Creating and examining the entrepreneurial competency development model of students in educational institutes under the Office of the Vocational Education Commission by using the information from step 1 to draft the development of the entrepreneurial competency development model, of students in educational institutions under the Office of the Vocational Education Commission And check the suitability of the model by focus group discussion of 9 experts, and 3) an evaluation of the entrepreneurial competency development model of students in educational institutions under the Office of the Vocational Education Commission. Evaluate the feasibility and usefulness of the model with the director, deputy director Incubator Advisory Teacher in the northern region of 108 people. The research results showed that. The development model for entrepreneurial competency of students in educational institutes under the Office of the Vocational Education Commission consisted of 4 components as follows: Component 1: Developer; Component 2: The process of developing students' entrepreneurial competencies in educational institutions Under the Office of the Vocational Education Commission. Component 3 Methods for developing students' entrepreneurial competencies in educational institutions Under the Office of the Vocational Education Commission Component 4: Entrepreneurship Competencies of Students in Educational Institutions Under the Office of the Vocational Education Commission. The result of examining the development model for entrepreneurial competency of students in educational institutes under the Office of the Vocational Education Commission found that experts considered it appropriate. As for the evaluation results of the developed entrepreneurial competency development model of students in educational institutes under the Office of the Vocational Education Commission, it was found that it was feasible. and the usefulness is at a high levelen
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) การศึกษากระบวนการพัฒนา วิธีการพัฒนา และสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 6 คน และสัมภาษณ์สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง  2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มายกร่างการพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  และตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบฯด้วยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 คน และ 3) การประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบกับผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ ครูที่ปรึกษาศูนย์บ่มเพาะ ในเขตภาคเหนือ จำนวน 108 คน  ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ผู้ดำเนินการพัฒนา องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา องค์ประกอบที่ 3 วิธีการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา องค์ประกอบที่ 4 สมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาว่าเหมาะสม ส่วนผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับ มากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะth
dc.subjectความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาth
dc.subjectอาชีวศึกษาth
dc.subjectCompetency Development Modelen
dc.subjectStudents Entrepreneurshipen
dc.subjectVocational Educationen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth
dc.titleMODEL FOR DEVELOPING ENTREPRENEURIAL COMPETENCY OF STUDENTS IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDER OFFICE OF THE VOCATIONAL EDUCATION COMMISSIONen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ChirasakChankan.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.