Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5694
Title: | การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เพื่อส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ARGUMENT DRIVEN INQUIRY FOR ENHANCING CREATIVE PROBLEM THINKING IN ENVIRONMENT PROBLEM TOPIC OF 9th GRADE STUDENTS |
Authors: | Sasina Mekphat ศศินา เมฆพัฒน์ Thitiya Bongkotphet ธิติยา บงกชเพชร Naresuan University Thitiya Bongkotphet ธิติยา บงกชเพชร thitiyab@nu.ac.th thitiyab@nu.ac.th |
Keywords: | การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง การคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ Argument-Driven Inquiry Creative Ploblem Solving Thinking |
Issue Date: | 2566 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This action research aims to 1) implement the Argument-Driven Inquiry Instruction for enhancing creative problem-solving thinking 2) intends to study the results of student’s creative problem solving thinking abilities.The participants in the study were 30 nineth grade students in the 2022 academic year. The research instruments consisted of lesson plans using the argument-driven inquiry model,reflective learning management form, worksheet, and the assessment forms of creative problem solving thinking.Qualitative data were analyzed using content analysis and quantitatively using mean and percentage values.
The findings indicated that
1. The learning management of Argument-Driven Inquiry (ADI) to emphasized in organizing learning activities were giving examples of situations that students encounter in daily life. The teacher advises students to investigate issues to explore and using the information to create arguments for discuss and reason,convincing evidence supporting the conclusion (claims). Offering a variety of ways to think about solving problems that were suitable for the problem situations,write a survey report for evaluate your friends’report and improve your own.
2. The creative problem solving thinking abilities of students’level had increased both during and after the learning management to each sub component, namely searching for truth and finding problems.There was the lowest percentage of scores of 63.33 and finding an answer acceptable with the highest percentage of scores equal to 86.67 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งเพื่อส่งเสริมการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 2) ศึกษาผลการพัฒนาการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียน ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ รายงานผลการสำรวจตรวจสอบและแบบวัดการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเชิงเนื้อหาและเชิงปริมาณโดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งสิ่งที่ควรเน้นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คือการยกตัวอย่างสถานการณ์ใกล้ตัวที่นักเรียนพบเจอในชีวิตประจำวัน ครูให้นักเรียนสืบเสาะประเด็นที่ต้องการสำรวจตรวจสอบแล้วนำข้อมูลที่ได้มาสร้างข้อโต้แย้งสามารถร่วมกันอภิปรายการให้เหตุผล หลักฐานที่น่าเชื่อถือ ที่สนับสนุนข้อกล่าวอ้างเสนอแนวทางการคิดแก้ปัญหาที่หลากหลายวิธีที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัญหานำมาเขียนรายงานสำรวจตรวจสอบ สามารถประเมินรายงานของเพื่อนและปรับปรุงรายงานของตนเอง 2. นักเรียนมีความสามารถคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ทั้งระหว่างการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมสูงขึ้นสำหรับในแต่ละองค์ประกอบย่อย ได้แก่ การค้นหาความจริงและการค้นหาปัญหาโดยมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 63.33 และการค้นหาคำตอบเป็นที่ยอมรับมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 86.67 |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5694 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SasinaMekphat.pdf | 5.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.