Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhuthita Suphaainen
dc.contributorพุธิตา สุภาอินทร์th
dc.contributor.advisorSureeporn Sawangmeken
dc.contributor.advisorสุรีย์พร สว่างเมฆth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-08-15T07:24:40Z-
dc.date.available2023-08-15T07:24:40Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5689-
dc.description.abstractThe objectives of action research were to study the phenomenon-based learning management to promote students' concept on the phenomenon of the world and natural disasters and climate awareness of grade 6 students, and to examine the effects of promoting concept on the phenomenon of the world and natural disasters and climate awareness using the phenomenon-based learning management for grade 6 students. The research participants were 20 grade 6 students from an educational opportunity expansion schools in Phichit province. The research tools used were learning management plans, a reflective learning management form, a conceptual measurement form on the phenomenon of the world and natural disasters and climate awareness assessment form. The research was conducted using a three-cycle of action research processes. The data were analyzed through content analysis, and verified for trustworthiness using the triangulation method. The results of this research indicated  that 1) the approach to promoting students' concepts and climate awareness through phenomenon-based learning management involves 5 steps:1. selecting interesting climate-related phenomena and integrating them with knowledge from various subject into science lesson, 2. developing pre-descriptions based on students' pre-concepts of natural phenomena and climate-relatedevents, 3. conducting experiments and research to verify the pre-descriptions of climate phenomena, 4. collecting and analyzing data from experiments to refine the final description of climate phenomena, and 5. presenting the final descriptions of climate phenomena and providing reasoning for answering questions related to climate phenomena, reflecting the students' accumulated thoughts about climate change. 2) The results of promoting the concept on  phenomenon of the world and natural disasters revealed that after the learning activities, students had the understanding of scientific concepts related to land and sea breezes and monsoons, with the highest percentage of partial understanding (PU) being 50%, the concept of natural disasters, the highest percentage of partial understanding (PU) was 35%, and the concept of greenhouse effect, students had concepts with partial and misunderstanding (PU+MU) with the highest percentage 40%. In addition the results showed that the average score of students' climate awareness after the learning activities using phenomena as a basis was higher than before.  en
dc.description.abstractการวิจัยปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานในการส่งเสริมมโนทัศน์และความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และศึกษาผลการส่งเสริมมโนทัศน์ และความตระหนักต่อ สภาพภูมิอากาศด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้เข้าร่วมวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนขยายโอกาสในจังหวัดพิจิตร จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือแผนการจัดการเรียนรู้ แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ แบบวัดมโนทัศน์เรื่องปรากฏการณ์โลกและภัยธรรมชาติ และแบบประเมินความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3 วงจร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลแบบสามเส้า พบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์ เป็นฐานในการส่งเสริมมโนทัศน์และความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.การเลือกปรากฏการณ์เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศโลกที่น่าสนใจและมีการบูรณาการองค์ความรู้ในศาสตร์ต่างๆในการเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาบทเรียน 2.การสร้างคำอธิบายเบื้องต้น โดยใช้มโนทัศน์ของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ปรากฏการณ์โลกและภัยธรรมชาติ และองค์ความรู้ในด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.การทำกิจกรรรมทดลองและการสืบค้นเพื่อตรวจสอบคำอธิบายปรากฏการณ์เบื้องต้นเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศของนักเรียน 4.การรวบรวมคำอธิบายสุดท้ายโดยนำข้อมูลจากการทำกิจกรรมมาวิเคราะห์และประมวลผลเพื่อสร้างหรือปรับปรุงคำอธิบายสุดท้ายของปรากฏการณ์ และ5.การนำเสนอคำอธิบายสุดท้ายของปรากฏการณ์สภาพภูมิอากาศและอภิปรายให้เหตุผลถึงคำตอบของประเด็นคำถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์สภาพภูมิอากาศ เพื่อสะท้อนความคิดรวบยอดของนักเรียนและ 2) ผลการส่งเสริม มโนทัศน์ เรื่องปรากฏการณ์โลกและภัยธรรมชาติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า หลังการจัดการเรียนรู้นักเรียนมีมโนทัศน์เรื่องลมบก ลมทะเล และลมมรสุม อยู่ในกลุ่มมโนทัศน์ วิทยาศาสตร์แบบไม่สมบูรณ์(PU) มากที่สุด (ร้อยละ 50) ในส่วนมโนทัศน์เรื่อง ภัยธรรมชาติ ของนักเรียนอยู่ในกลุ่มมโนทัศน์วิทยาศาสตร์แบบไม่สมบูรณ์ (PU) มากที่สุด (ร้อยละ 35) และ มโนทัศน์เรื่อง ปรากฏการณ์เรือนกระจก นักเรียนมีมโนทัศน์อยู่ในกลุ่มมโนทัศน์วิทยาศาสตร์บางส่วนมีความสอดคล้อง และมีบางส่วนไม่สอดคล้อง(PU+MU) มากที่สุด (ร้อยละ 40) และผลการส่งเสริมความตระหนักต่อสภาพพบว่าคะแนนเฉลี่ยความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศของนักเรียน แต่ละองค์ประกอบหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียนth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานth
dc.subjectความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศth
dc.subjectมโนทัศน์ปรากฏการณ์ของโลกและภัยธรรมชาติth
dc.subjectPhenomenon-based learningen
dc.subjectClimate awarenessen
dc.subjectConcept on the phenomenon of world and natural disastersen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมมโนทัศน์ เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลก และภัยธรรมชาติ และความตระหนักต่อสภาพภูมิอากาศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleUsing Phenomenon-based Learning to Promote Conceptual on the Phenomenon of the world and Natural Disasters and Climate Awareness of Grade 6 Studentsen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSureeporn Sawangmeken
dc.contributor.coadvisorสุรีย์พร สว่างเมฆth
dc.contributor.emailadvisorsureepornka@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsureepornka@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PhuthitaSuphaain.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.