Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNutthapong Pumsiroen
dc.contributorนัทธพงศ์ พุ่มศิโรth
dc.contributor.advisorNattakan Prechanbanen
dc.contributor.advisorณัฐกานต์ ประจันบานth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.available2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5686-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) create and find out the effectiveness index of the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students according to the criterion, not less than 0.50, 2) to compare academic achievement before and after learning by using the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students, and 3) study the satisfaction of students towards learning by using the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students. The participants were 9 tenth-grade students of the second semester in 2022 at Wangkrotpittaya School chosen by the purposive selection. The research instruments were 5 lesson plans , an achievement test on momentum and collision, 20 items , and a questionnaire measuring students’ satisfaction Rating scale, 12 items . The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, and t-test (Dependent Samples). The results showed that 1) learning by using the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students was consists of 5 main steps according to the 5E’s of inquiry-based learning management for students to learning and creating knowledge by themselves and applied Rojas's problem-solving strategy, which consists of 6 steps, strategy to promote the physics problem-solving process of students in the 4th step, Elaboration the knowledge of the 5E’s inquiry-based appropriate at a very high level and met the effectiveness index at 0.52, 2) The comparison of academic achievement between before and after learning by using the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students was higher than before at a significance level of 0.05, and 3) the satisfaction of students towards learning by using the 5 E’s of inquiry-based learning with Rojas’s problem-solving strategy to promote academic achievement on momentum and collision for tenth-grade students was at a high level.en
dc.description.abstract     การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ประสิทธิผลไม่ต่ำ 0.50 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนใช้และหลังใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเลือกแบบเจาะจง  (Purposive Selection) คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวังกรดพิทยา จังหวัดพิจิตร จำนวน 9 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 แผน  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจ มีลักษณะเป็นมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) จำนวน 12 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วยเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยพบว่า 1) การสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนหลักตามการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es  เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมถึงสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และนำแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาส์ซึ่งประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน มาพัฒนากระบวนการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนในขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es นำมาสร้างเป็นชุดกิจกรรมจำนวน 5 ชุดกิจกรรม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.52 ตามเกณฑ์ประสิทธิผลไม่ต่ำ 0.50 2) การเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังใช้สูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์ เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อยู่ในระดับมาก  th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es)th
dc.subjectแนวคิดการแก้โจทย์ปัญหาของโรจาร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectThe 5 E’s of inquiry-based learningen
dc.subjectRojas’s problem-solving strategyen
dc.subjectAcademic achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es ร่วมกับแนวคิดการโจทย์ปัญหาของโรจาร์เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.titleThe Development of the 5 E’s of Inquiry-based Learning with Rojas’s Problem-solving Strategy to Promote Academic Achievement on Momentum and Collision for Tenth-grade Studentsen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNattakan Prechanbanen
dc.contributor.coadvisorณัฐกานต์ ประจันบานth
dc.contributor.emailadvisornattakanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisornattakanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NutthapongPumsiro.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.