Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTarika Taiyanamen
dc.contributorทาริกา ไตยนำth
dc.contributor.advisorNattakan Prechanbanen
dc.contributor.advisorณัฐกานต์ ประจันบานth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.available2023-08-15T07:24:39Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5684-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) develop a causal relationship model of affects science attitudes of junior high school students. 2) examine the consistency of the causal relationship model affecting scientific attitudes with empirical data.The research sample was a group of 296 lower secondary education level students in Phetchabun secondary educational service area office. The research instrument was a questionnaire. The data were statistically analyzed through SPSS program and Mplus program.The following were the results: The four latent variables of the measurement model were fit with the empirical data. The factor loadings of all variables were positive in range of 0.785 to 0.909 at .05 statistical significant.The structural equation model of scientific attitudes was also fit with the empirical data (X2 = 46.497 , df = 37, p-value = 0.1362 , X2/df = 1.257 , CFI = 0.997, TLI = 0.996 , SRMR = 0.013 , RMSEA = 0.029) The variables effect on the scientific attitudes are directly influenced by self-concept in science (0.742) Indirect influences from scientific curiosity through self-concept in science (1.012) and Indirectly influenced by self-direction in learning science through scientific curiosity and scientific self-concept (0.840)en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อเจตคติทางวิทยาศาสตร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์ จำนวน 296 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และใช้โปรแกรมทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิจัยพบว่า  การวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการวัดตัวแปรแฝงทั้ง 4 ตัวแปร มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ทุกโมเดล มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบของตัวแปรสังเกตได้เป็นบวก มีค่าอยู่ระหว่าง 0.785-0.909 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกค่า โมเดลมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 = 46.497 , df = 37, p-value = 0.1362 , X2/df = 1.257 , CFI = 0.997, TLI = 0.996 , SRMR = 0.013 , RMSEA = 0.029)  การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อเจตคติทางวิทยาศาสตร์ พบว่า เจตคติทางวิทยาศาสตร์ได้รับอิทธิพลทางตรงมาจากมโนภาพแห่งตนด้านวิทยาศาสตร์ มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.742 รับอิทธิพลทางอ้อมจากการใฝ่รู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยผ่านมโนภาพแห่งตนด้านวิทยาศาสตร์ ขนาดอิทธิพลเท่ากับ 1.012 และรับอิทธิพลทางอ้อมจากการกำกับตนเองในการเรียนวิทยาศาสตร์ ผ่านการใฝ่รู้ทางวิทยาศาสตร์และมโนภาพแห่งตนทางวิทยาศาสตร์ ขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.840th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectปัจจัยเชิงสาเหตุth
dc.subjectเจตคติทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectCausal Factorsen
dc.subjectScientific Attitudeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์th
dc.titleCAUSAL FACTORS INFLUENCING SCIENCTIFIC ATTITUDE OF THE JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS UNDER THE PHETCHABUN SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICEen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorNattakan Prechanbanen
dc.contributor.coadvisorณัฐกานต์ ประจันบานth
dc.contributor.emailadvisornattakanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisornattakanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TarikaTaiyanam.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.