Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5677
Title: การศึกษาสมรรถนะและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1
THE STUDY OF COMPETENCY AND GUIDELINES FOR THE DEVELOPMENT OF DIGITAL COMPETENCY OF TEACHERS AT SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF UTTARADIT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 
Authors: Pataraporn Yaowarat
ภัทราพร เยาวรัตน์
Tussana Siputta
ทัศนะ ศรีปัตตา
Naresuan University
Tussana Siputta
ทัศนะ ศรีปัตตา
tatsanas@nu.ac.th
tatsanas@nu.ac.th
Keywords: การศึกษาสมรรถนะ
แนวทางการพัฒนา
สมรรถนะดิจิทัลของครู
The study of Competency
Guideline for Development
Digital Competency for teachers
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this research was to study the competency and guidelines for the development of digital competency of teachers at schools under the office of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1. In this study, there were two steps. In Step 1, It is the study of digital competency of teachers at schools. The sample group consisted of 310 teachers at schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1. The research tool used for data collection was 5 rating scale questionaire of digital competency. The collected data were analyzed by means and standard derivation (SD). In Step 2, It is the study of guidelines for the development of digital competency of teachers at schools under the office of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1. The informant group included 4 experts recruited by purposive sampling. The tool used for data collection was the interview about guidelines for the development of digital competency of teachers at schools. Then data were analyzed by content analysis. The findings indicated that 1.  The result of a study on digital competency of teachers at schools under the office of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1 revealed that the overall result was at a high level. When considering each aspect, it was found that ‘Digital Literacy’ had the highest mean and ‘Using Digital Devices’ had the least mean. 2.  The results of a study on guidelines for the development of digital competency of teachers at schools revealed that the office of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1 should support the creation of knowledge, understanding for teachers to use digital technology, including giving information about digital competency of teachers at schools and setting the digital solving team to support teachers. Moreover, the office of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1 should supervise, monitor and promote of the use of digital technology.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสมรรถนะและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 มีวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 จำนวน 310 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 4 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1.  ผลการศึกษาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการรู้ดิจิทัล อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการใช้ดิจิทัล อยู่ในระดับมาก  2.  ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของครูในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่ควรสนับสนุนให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับครูโดยมีการจัดอบรม ประชาสัมพันธ์ความรู้ให้แก่ครู มีการจัดตั้งทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้งมีการนิเทศ ติดตาม ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5677
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PatarapornYaowarat.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.