Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5653
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sutapa Mapragorp | en |
dc.contributor | สุทธาภา มาประกอบ | th |
dc.contributor.advisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T07:24:32Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T07:24:32Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5653 | - |
dc.description.abstract | This research about is qualitative research (Qualitative Research) to develop an experiential learning management model to develop digital entrepreneur competency. through the Laplae city cultural capital of high school students has the objective to organize with experiential learning to develop digital entrepreneurial competencies by capitalizing on Laplap city of high school students. Emphasize the learning management process through the learning management manual. By using participatory assessment. Research areas are schools that teaching social studies, religion, and culture at the high school level, Uttaradit Province Entrepreneurs who selling products from cultural capital in the area of Laplae District, Uttaradit Province and experts in digital business entrepreneurship. The research tools 1) Teacher interviewing form, 2) entrepreneur interviewing form, 3) digital business professionals, and 4) students of Uttaradit Rajabhat University Demonstration School. The results of this research show that organizing of learning activities, teachers must study a curriculum on digital entrepreneurship development and must complete with the Basic Education Core Curriculum, 2008 and design a process of learning activities organizing so that learners can study and find information according to their interests by visiting the area to study local learning resources. through experiential learning organizing. And supporting the technological using to design the product and can use the technology media to develop the capacity of digital entrepreneurs through cultural capital. By creating an experiential learning management model to develop digital entrepreneurial competency by cultural capital of Laplae cities of high school students or CPKD MODEL. | en |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัล โดยทุนทางวัฒนธรรมเมืองลับแลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัลโดยทุนทางวัฒนธรรมเมืองลับแลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านคู่มือการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ในการวิจัย ได้แก่ โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้ประกอบการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากทุนทางวัฒนธรรมในพื้นที่อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ และผู้เชี่ยวชาญด้านการประกอบการธุรกิจดิจิทัล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์บุคลากรครู 2) แบบสัมภาษณ์ผู้ประกอบการฯ 3) ผู้เชี่ยวชาญด้านการประกอบการธุรกิจดิจิทัล และ 4) นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ผลการวิจัย พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องมีการศึกษาหลักสูตรเกี่ยวกับการพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล ต้องสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาข้อมูลตามความสนใจจากการลงพื้นที่เพื่อศึกษาแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น ผ่านการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ส่งเสริมการใช้สื่อเทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และสามารถนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ในพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัลโดยทุนทางวัฒนธรรม โดยสร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัลโดยทุนทางวัฒนธรรมเมืองลับแลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ CPKD MODEL | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ | th |
dc.subject | สมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัล | th |
dc.subject | ทุนทางวัฒนธรรมเมืองลับแล | th |
dc.subject | นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย | th |
dc.subject | Experiential Learning Management | en |
dc.subject | Digital Entrepreneur Competency | en |
dc.subject | Lab Lae Cultural Capital | en |
dc.subject | High School Students | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์เพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัลโดยทุนทางวัฒนธรรมเมืองลับแลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย | th |
dc.title | EXPERIENTIAL LEARNING MANAGEMENT FOR DEVELOPING DIGITAL ENTREPRENEURIAL COMPETENCES BY LAPLAE CITY CULTURAL CAPITAL OF HIGH SCHOOL STUDENTS | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SutapaMapragorp.pdf | 6.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.