Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5600
Title: | การเจริญเปลี่ยนแปลงของเซลล์เดนไดรติกที่พัฒนาจากโมโนไซต์หลังได้รับการกระตุ้น Differentiation of monocyte-derived dendritic cells after stimulation |
Authors: | Manutsavee Khonlak มนัสวี คนหลัก Apirath Wangteeraprasert อภิรัตน์ หวังธีระประเสริฐ Naresuan University Apirath Wangteeraprasert อภิรัตน์ หวังธีระประเสริฐ apirathw@nu.ac.th apirathw@nu.ac.th |
Keywords: | เซลล์เดนไดรติก การกระตุ้นเซลล์ จุลทรรศน์โทโมคิวบ์ HT-2 แบบ 3 มิติ Dendritic cells Cell stimulation Tomocube HT-2 microscope |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | Dendritic cells (DCs) play a critical role in initiating the adaptive immune response by presenting antigens to T cells. In this study, a method for the successful isolation and culture of both immature and mature dendritic cells from monocytes obtained from peripheral blood mononuclear cells (PBMCs) using Lipopolysaccharide (LPS) was established. The morphological and intracellular differences between the two groups of mature dendritic cells were then examined using a flow cytometry and 3-dimensional Tomocube HT-2 microscope. A significant increase in cell mass and lipid mass was observed in mature dendritic cells compared to immature dendritic cells, as confirmed by Oil Red O staining. The utility of the Tomocube HT-2 microscope in comparing the morphological and intracellular differences between immature and mature dendritic cells was demonstrated. New insights into the functional differences between immature and mature dendritic cells were provided and the importance of dendritic cells in the immune response was highlighted. These findings open a new avenue for further research into the function of immune cells and the relationship of metabolism at the various stages of these cells. This may have implications for the development of immunotherapies. เซลล์เดนไดรติกเป็นเซลล์ที่มีบทบาทหน้าที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งในนำเสนอแอนติเจนต่อ T cells ซึ่งเป็นการกระตุ้นการตอบสนองของภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ ในการศึกษานี้ผู้วิจัยแยกโมโนไซต์จากแยกเม็ดเลือดขาวชนิดโมโนนิวเคลียร์ (Peripheral blood mononuclear cells; PBMC) และพัฒนาเป็นเซลล์เดนไดรติกที่ยังไม่เจริญเต็มที่ และกระตุ้นให้พัฒนาเป็นเซลล์เดนไดรติดที่เจริญเต็มที่ด้วย Lipopolysaccharide (LPS) ก่อนนำมาศึกษาความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของเซลล์ และศึกษาลักษณะภายในเซลล์ทั้งสองกลุ่มโดยใช้โฟลไซโตเมทรีและกล้องจุลทรรศน์โทโมคิวบ์ HT-2 แบบ 3 มิติ จากการศึกษาครั้งนี้พบการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของมวลและไขมันภายในในเซลล์เดนไดรติกที่เจริญเต็มที่แล้ว และได้รับการยืนยันจากการย้อมสี Oil red O ที่มีความจำเพาะต่อไขมัน การใช้กล้องจุลทรรศน์โทโมคิวบ์ HT-2 แบบ 3 มิติ เพื่อศึกษาความลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะภายในเซลล์เดนไดรติกครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงข้อมูลใหม่ ๆ ซึ่งเป็นการย้ำถึงความสำคัญของการศึกษาการทำงานและการตอบสนองของเซลล์เดนไดรติกในขณะที่ยังเจริญเติบโตไม่ที่และหลังจากเซลล์เดนไดรติกที่เจริญเต็มที่ และเป็นการเปิดช่องทางใหม่ ๆ สำหรับการวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานและกระบวน metabolism ของเซลล์ภูมิคุ้มกันที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาและรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัด |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5600 |
Appears in Collections: | คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ManutsaveeKhonlak.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.