Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5548
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wutthichai Khamphirayot | en |
dc.contributor | วุฒิชัย คำภิระยศ | th |
dc.contributor.advisor | Songphop Khunmathurot | en |
dc.contributor.advisor | ทรงภพ ขุนมธุรส | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-05-30T02:21:00Z | - |
dc.date.available | 2023-05-30T02:21:00Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5548 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) develop the lesson plan which using games and graphic mapping to promote reading aloud and spelling writing on the thai word that the words that are section misspelled 2) compare the abilities of reading aloud and spelling writing on the thai word that the words between before and after the game-based learning management with graphical charts; and 3) discover the level of satisfactions of the students on the certain kind of learning. The participants of the study were 51 students from Grade 4, Semester 2/2022, Naresuan University Demonstration School. The sample groups included 25 students from Grade 4/1, Semester 2/2022, Naresuan University Demonstration School. Simple Random Sampling was employed for the sample selection, through lottery picking. The tools of the study included 1) the learning plan through games with graphical charts in order to enhance the abilities to read aloud and spell the words that were section misspelled; 2) the evaluation of reading aloud and writing abilities about the words that were section misspelled; and 3) the satisfactory evaluation form on the learning management. The statistical data applied in the study were mean, percentage, standard deviation, and t-test dependent. The results of the study revealed that 1) the level of appropriateness of learning plan through games with graphical charts in order to enhance the abilities to read aloud and spell the words that were section misspelled was the highest (x̅ = 4.50, S.D. = 0.67) 2) the students’ ability to read aloud and write the words that were section misspelled after the learning was significantly higher than before the learning significance .05 and 3) the students’ satisfaction on the learning management through games with graphical charts was high excellent level of satisfaction (x̅ = 4.55, S.D. = 0.63). | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนอนุบาลและประถมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร 2 ห้องเรียน จำนวน 51 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนอนุบาลและประถมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1 ห้องเรียน จำนวน 25 คน โดยวิธีการเลือกการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยวิธีจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม ร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก 2) แบบวัดความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด (x̅ = 4.50, S.D. = 0.67) 2) ความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกดหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิกอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.55, S.D. = 0.63) | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ | th |
dc.subject | เกม | th |
dc.subject | ผังกราฟิก | th |
dc.subject | Reading Aloud and Word Spelling | en |
dc.subject | Game | en |
dc.subject | Graphical Charts | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for pre-school teachers | en |
dc.title | การพัฒนาทักษะความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำและการเขียนสะกดคำ เรื่อง คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมร่วมกับเทคนิคการใช้ผังกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF READING ALOUD WORD AND SPELLING ABILITIES ON THE SUBJECT OF “WORDS THAT ARE MISSPELLED ACCORDING TO SECTIOU” BY USING GAME BASED LEARNING MANAGEMENT WITH GRAPHICAL CHARTS TECHNINGUES. FOR GRED 4 STUDENT | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Songphop Khunmathurot | en |
dc.contributor.coadvisor | ทรงภพ ขุนมธุรส | th |
dc.contributor.emailadvisor | songphopk@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | songphopk@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WutthichaiKhamphirayot.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.