Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjaphorn Phonla-kraien
dc.contributorเบญจพร พลไกรth
dc.contributor.advisorBrapaas Pengpoomen
dc.contributor.advisorประภาษ เพ็งพุ่มth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:54Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:54Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5530-
dc.description.abstractThe purposes of the research were to 1) compare thai language reading and spelling abilities by Active learning management with Gamification in Grade 3 for learning loss student during coronavirus disease 2019 (covid-19) pandemic between before and  after learning   2) compare thai language reading and spelling abilities between after learning with 70% criterion and 3) study Grade 3 students' Active learning management with Gamification. The sample consisted of 24 Grade 3 are learning loss student during coronavirus disease 2019 (covid-19) pandemic of Huaykrai School in second semester of academic year 2022. The research instruments used to collect data were 1) Active learning management with Gamification plan 2) thai language reading and spelling abilities evaluation form 3) Questionnaire of satisfaction. Data were statistically analyzed by mean, percentage, standard deviation, and t-test The results revealed as follows 1) Thai language reading and spelling abilities significantly higher than before the experiment with Statistically (x̄ =21.17, S.D.=3.77) at the level of 0.5 2) Active learning management with Gamification higher than the criteria of 70 percent with statistical significance at the level of .05 and 3)  Grade 3 are learning loss student had the satisfaction toward after being taught by Active learning management with gamification at the high level. (x̄= 4.37, S.D.=0.82) en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ จุดมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาความสามารถการอ่านสะกดคำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning loss) ในสถานการณ์โควิด-19 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้  2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning loss) ในสถานการณ์โควิด-19 โรงเรียนบ้านห้วยไคร้  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 1 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 24 คน  โดยวิธีการเลือกเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)  เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับ แนวคิดเกมิฟิเคชั่น 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านสะกดคำ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนหลังการเรียนรู้ (x̄ =21.17, S.D.=3.77) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ (x̄=7.25, S.D.=2.85)   อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2) ความสามารถการอ่านสะกดคำภาษาไทยของนักเรียน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับ แนวคิดเกมิฟิเคชั่น (Gamification) อยู่ในระดับมาก (x̄= 4.37, S.D.=0.82) th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะถดถอยทางการเรียนรู้th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectแนวคิดเกมิฟิเคชั่นth
dc.subjectความสามารถการอ่านสะกดคำภาษาไทยth
dc.subjectLearning lossen
dc.subjectActive learning managementen
dc.subjectGamificationen
dc.subjectThai language reading and spelling abilitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านสะกดคำภาษาไทย โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ร่วมกับแนวคิดเกมิฟิเคชั่น (Gamification) สำหรับนักเรียนที่มีภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning loss) ในสถานการณ์การโควิด-19 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 th
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF THAI LANGUAGE READING AND SPELLING ABILITIES BY ACTIVE LEARNING MANAGEMENT WITH GAMIFICATION FOR LEARNING LOSS STUDENT DURING CORONAVIRUS DISEASE 2019 (COVID-19) PANDEMIC IN GRADE 3 en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorBrapaas Pengpoomen
dc.contributor.coadvisorประภาษ เพ็งพุ่มth
dc.contributor.emailadvisorbrapaasp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorbrapaasp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BenjaphornPhonla-krai.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.