Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5523
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nattanon Kasetiam | en |
dc.contributor | ณัฐนนท์ เกษตรเอี่ยม | th |
dc.contributor.advisor | Passkorn Roungrong | en |
dc.contributor.advisor | ภาสกร เรืองรอง | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-05-30T02:20:53Z | - |
dc.date.available | 2023-05-30T02:20:53Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5523 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) create and find the effectiveness of an online metaverse lesson using with active learning approach titled Technology for Solving Problems in Design and Technology course of 9th-grade students, 2) compare learning outcomes before and after using the online metaverse lesson using with active learning approach titled technology for solving problems in design and technology course of 9th-grade students, and 3) study the satisfaction of grade 9 students towards the online metaverse lesson. The sample group used in this research was 40 students from grade 9 of Nakhonsawan school. There were selected by a purposive sampling method. The tools used in the research were; An online metaverse curriculum with active learning, an achievement test, and a satisfaction questionnaire. Data were analyzed by mean, Standard Deviation, and t-test. The research results showed that 1) the online metaverse course was effective according to the criteria set at 87.63/84.97, 2) the sample group had a significantly higher post-test score than the pre-test score at a level of .05, and 3) the students' satisfaction with the online metaverse course is high ( x̄ = 4.46, S.D. = 0.47) | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต ร่วมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก วิชาออกแบบและเทคโนโลยี นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต วิชาออกแบบและเทคโนโลยี เรื่องเทคโนโลยีแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนครสวรรค์ จำนวน 40 คน ได้มาโดยใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ บทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต ร่วมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่องเทคโนโลยีแก้ปัญหา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพของบทเรียน และการทดสอบ ผลการวิจัย พบว่า 1) บทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ 87.63/84.97 2) กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต อยู่ในระดับ มาก ( x̄ = 4.46, S.D. = 0.47) | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้เชิงรุก | th |
dc.subject | เทคโนโลยีแก้ปัญหา | th |
dc.subject | บทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิต | th |
dc.subject | Metaverse lesson | en |
dc.subject | Technology for Solving Problems | en |
dc.subject | Active Learning | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | การพัฒนาบทเรียนออนไลน์รูปแบบจักรวาลนฤมิตร่วมกับกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก Active Learning รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี เรื่องเทคโนโลยีแก้ปัญหา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | th |
dc.title | DEVELOPMENT OF AN ONLINE METAVERSE LESSON USING WITH ACTIVE LEARNING APPROACH TITLED “TECHNOLOGY FOR SOLVING PROBLEMS” IN DESIGN AND TECHNOLOGY COURSE OF 9TH GRADE STUDENTS | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Passkorn Roungrong | en |
dc.contributor.coadvisor | ภาสกร เรืองรอง | th |
dc.contributor.emailadvisor | passkornr@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | passkornr@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Technology and Communications | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NattanonKasetiam.pdf | 5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.