Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5516
Title: การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก
THE FACTOR ANALYSIS OF DIGITAL COMPETENCY  OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN PHITSANULOK PROVINCE  SECONDARY SCHOOLS
Authors: Sunantana Kusolprasert
สุนันทนา กุศลประเสริฐ
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
Naresuan University
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
sathirapornc@nu.ac.th
sathirapornc@nu.ac.th
Keywords: การวิเคราะห์องค์ประกอบ
สมรรถนะดิจิทัล
ผู้บริหารสถานศึกษา
THE FACTOR ANALYSIS
DIGITAL COMPETENCY
SCHOOL ADMINISTRATORS
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this research was to analyze the digital competency components of school administrators in Phitsanulok Province secondary schools. The sample groups used in this research were school administrators and teachers in Phitsanulok province, the academic year 2022, totaling 345 people. Classified as school administrators, 88 people were obtained by purposive selection and teachers, 257 people were obtained by stratified random sampling according to the proportion of teachers in each inter-campus of Phitsanulok secondary schools. The tool used to collect data was a questionnaire. The statistics used in the data analysis were Exploratory Factor Analysis (EFA) by using the Principal Component Analysis (PCA) and Orthogonal Rotation by Varimax Rotation. The research results found that the components of digital competency of school administrators in Phitsanulok Province secondary schools consisted of 6 components: 1) Creation of digital innovation 2) Communication and creating digital networks for learning 3) Critical digital literacy 4) Educational institute development to facilitate digital organization 5) Ability to the use of digital technology and 6) ethics and safety in digital use. Able to explain the digital competency components of school administrators in Phitsanulok Province secondary schools at 72.60 percent.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2565 จำนวน 345 คน โดยจำแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 88 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และครู จำนวน 257 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของครูในแต่ละสหวิทยาเขต ของโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยวิธีสกัดองค์ประกอบหลักหลังหมุนแกนแบบมุมฉากด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลกพบว่า ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล 2) ด้านการสื่อสารและสร้างเครือข่ายดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ 3) ด้านการรู้ดิจิทัลอย่างมีวิจารณญาณ 4) ด้านการพัฒนาสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเป็นองค์กรดิจิทัล 5) ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ 6) ด้านจรรยาบรรณและความปลอดภัยในการใช้ดิจิทัล สามารถอธิบายองค์ประกอบสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ได้ร้อยละ 72.60
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5516
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SunantanaKusolprasert.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.