Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5508
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Thunyaporn Sungmuang | en |
dc.contributor | ธันยาภรณ์ สังข์เมือง | th |
dc.contributor.advisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.advisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-05-30T02:20:50Z | - |
dc.date.available | 2023-05-30T02:20:50Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5508 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to study the needs and guidelines for academic administration to improve the quality of education. Under Phitsanulok Primary Education Service Area Office 1, the research was divided into 2 steps: Step 1: a study of needs in academic administration to improve the quality of education; The research tool was a questionnaire. The sample group was school administrators and academic supervisor teachers. Under Phitsanulok Primary Education Service Area Office 1, there were 208 students. Data were analyzed by means. Standard Deviation and Priority Needs Index (PNImodified) Step 2: a study on academic administration guidelines for raising the quality of education Affiliated Under Phitsanulok Primary Education Service Area Office 1. The research tool was an interview form. The informant was 3 experts. Data were analyzed by content analysis. The results of the research study found that 1. The results of a study of needs in academic administration to improve the quality of education Under Phitsanulok Primary Education Service Area Office 1 Overall, it was equal to 0.318. When considering each aspect, it was found that the aspect with the highest needs index was the development of media, innovation, and technology to improve learner quality, followed by curriculum development and academic planning and measurement, evaluation, and development of educational quality. and the aspect with the lowest need index was the aspect of learning management to improve learner quality and promotion and support of educational supervision to improve learner quality. 2. The results of a study on academic administration guidelines for raising the quality of education Affiliated with Under Phitsanulok Primary Education Service Area Office 1 found that 2.1. Curriculum development and academic planning There is an important guideline that school administrators should organize training. To raise awareness for teachers or educational personnel to see the importance of school curriculum There is an analysis of the school curriculum. clearly consider the standards, indicators, and identity of educational institutions Appoint a committee consisting of administrators, teachers, school committees Encourage continual meetings Plan and set a framework for improving and developing educational institution curricula in line with the needs of the community and in accordance with the needs of educational institutions. Collaborate with other educational institutes in curriculum development. by taking advice from stakeholders Continue to modernize the educational institution curriculum. To replace the old curriculum and to inspect the quality of the curriculum with the PDCA quality cycle management process to raise the quality of education according to the Basic Education Standards of 2018 on learner quality. at an excellent level. 2.2. Learning management to develop the quality of learners an important guideline is that educational institution administrators should set a clear, systematic operational calendar, plan together with teachers or related personnel using the PLC process. "Professional Learning Community" (Professional Learning Community) Develop tools for use in supervising, supervising, and monitoring teacher learning management. in a friendly way and together reflecting on the results of monitoring and auditing in order to bring improvements, improvements and further development Use the acquired knowledge to create innovations in the development of learning management. so that learners have academic achievement and desirable characteristics that are higher than the target values set by educational institutions. 2.3. Development of media, innovation and technology to improve the quality of learners There is an important guideline that school administrators should organize workshops and seminars on media development, innovation and technology to encourage and support teachers to produce media or choose to use technology media that is appropriate to the context of the school, community and is up to date in organizing activities. change-based learning Encourage teachers to be creative and learn to use new technologies. in learning activities Providing and giving importance to high-speed internet, including educational institutions should provide tools Materials related to learning activities are sufficient to meet the needs of teachers. To facilitate and give importance to the development of media, innovation, and technology. 2.4. Promotion and support of educational supervision to develop the quality of learners There is an important guideline that school administrators should participate in the exchange of learning and academic experiences both inside and outside the school through the PLC process and online. 2.5. Measurement, evaluation and development of educational quality There is an important guideline that school administrators should encourage teachers to use the problems and conditions of learners as challenging issues in the PA (Performance Appraisal) assessment in order to develop learners to have national-level test results (O-NET). , NT, RT) above the national level with a classroom action research process Including to solve problems of learners to have knowledge skills and characteristics according to the Basic Education Standards B.E. 2561 to raise the quality of education. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ผู้วิจัยแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้าวิชาการ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 จำนวน 208 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการจัดลำดับความสำคัญของต้องการจำเป็น (PNImodified) ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 เท่ากับ 0.318 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีดัชนีความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนงานวิชาการ ด้านการวัดประเมินผลและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ และด้านที่มีดัชนีความต้องการจำเป็นต่ำสุด คือ ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านส่งเสริมและสนับสนุนนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ 2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ผลการศึกษาวิจัย พบว่า 2.1 ด้านการพัฒนาหลักสูตรและการวางแผนงานวิชาการ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดอบรม เพื่อสร้างความตระหนักให้ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญในเรื่องของหลักสูตรสถานศึกษา มีวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา พิจารณามาตรฐาน ตัวบ่งชี้ อัตลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างชัดเจน แต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ส่งเสริมให้มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง วางแผนกำหนดกรอบการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา ประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาอื่นในการพัฒนาหลักสูตร โดยรับคำแนะนำจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการปรับหลักสูตรสถานศึกษาให้ทันสมัย เพื่อทดแทนหลักสูตรเก่าและมีการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรด้วยกระบวนการบริหารวงจรคุณภาพ PDCA เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 ด้านคุณภาพผู้เรียน ในระดับยอดเยี่ยม 2.2 ด้านการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรกำหนดปฏิทินการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการวางแผนร่วมกันกับครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องโดยใช้กระบวนการ PLC “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” (Professional Learning Community) จัดสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือสำหรับนำไปใช้ในนิเทศ กำกับ ติดตามการจัดการเรียนรู้ของครู แบบกัลยาณมิตรและร่วมกันสะท้อนผลจากการติดตาม ตรวจสอบ เพื่อนำมาแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น นำความรู้ที่ได้มาสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการและคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงกว่าค่าเป้าหมายตามที่สถานศึกษากำหนด 2.3 ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสัมมนาเกี่ยวกับพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผลิตสื่อหรือเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ชุมชน และมีความทันสมัยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามความเปลี่ยนแปลง สนับสนุนให้ครูสร้างสรรค์และเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดหาและให้ความสำคัญกับอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง รวมถึงสถานศึกษาควรจัดหาเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของครูผู้สอน เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกและให้ความสำคัญในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี 2.4 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ทางวิชาการทั้งในและนอกสถานศึกษาด้วยกระบวนการ PLC “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” (Professional learning community) ในรูปแบบออนไซต์และออนไลน์ 2.5 ด้านการวัดประเมินผลและพัฒนาคุณภาพการศึกษา คือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนนำปัญหาและสภาพของผู้เรียนมากำหนดเป็นประเด็นท้าทายในการประเมิน PA (Performance Appraisal) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET, NT, RT) สูงกว่าระดับประเทศด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน รวมถึงเพื่อแก้ไขปัญหาของผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ความต้องการจำเป็น | th |
dc.subject | การบริหารวิชาการ | th |
dc.subject | การยกระดับคุณภาพการศึกษา | th |
dc.subject | Essential Needs | en |
dc.subject | Academic administration | en |
dc.subject | Quality of Education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | ความต้องการจำเป็นและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 | th |
dc.title | THE NEEDS AND GUIDELINES OF ACADEMIC ADMINISTRATION TOWARDS IMPROVE THE QUALITY OF EDUCATION UNDER PHITSANULOK PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1 | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.emailadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ThunyapornSungmuang.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.