Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5502
Title: การพัฒนากิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒธรรม
DEVERLOPMENT OF LEARNING EXPERIENCE ACTIVITIES USING PARENT ENGAGEMENT TO ENHANCE RESPECTFUL MIND OF EARLY CHILDHOOD STUDENTS IN MULTICULTURAL CONTEXT  
Authors: Lalida Kaewnaluang
ลลิดา แก้วนาหลวง
Angkana Onthanee
อังคณา อ่อนธานี
Naresuan University
Angkana Onthanee
อังคณา อ่อนธานี
angkanao@nu.ac.th
angkanao@nu.ac.th
Keywords: การจัดประสบการณ์เรียนรู้
จิตรู้เคารพ
การมีส่วนร่วมของครอบครัว
parent engagement
respectful mind
leaning experience
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this research were : 1) to construct and find the efficiency of experiential activities using  parent engagement to enhance respectful mind of early childhood students in multicultural context  at the level of 75/75  2) to compare respectful mild of early childhood before and after by using the parent engagement for enhance respectful mild of early childhood in multicultural context. The research procedure comprised with 2 steps of research and development were as follows : Step 1: constructing and  finding the effectiveness of experiential activities by parent engagement for enhance respectful mild of early childhood in multicultural context at the level of 75/75 by consider the suitability of the activities by three experts then tries out with 3 of early childhood 3/1 at pamaiutid 4 school to appropriateness of content,language and time. After revised the model, it was tried out with 9 students to assess the efficiency of activities at the level of 75/75. The tools applied in the research include the form evaluating the activity appropriateness, the form evaluating experiential activities by parent engagement for enhance respectful mild of early childhood in multicultural context, the form examining the consistency of  and The data were analysed by mean standard deviation and E1/E2. Step 2: compare respectful mild of early childhood before and after by using parent engagement to enhance respectful mild of early childhood in multicultural context. The tools applied in the research include the respectful mind test for early childhood student. The sample was 27 of early childhood class3/4 pamaiutit4 school. Applied specific selection method. The research design was one group pretest-posttest design. The results of the study revealed that 1.experiential activities by parent engagement had 4 steps were as follow; 1) participation in decision making. 2) participation in the practice 3 )participation in receiving benefits 4) participation in the evaluation.experiential activities by family involvement had appropriated quality with highest level(Mean=4.8,S.D.=0.29) and effectiveness equal 76.57/75.41 2. Result of experiential activities by parent engagement respectful mild of early childhood in the posttest were higher than that of the pretest with statistical level of .01
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒนธรรมตามเกณฑ์ 75/75  2.เพื่อเปรียบเทียบจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒนธรรม  ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนามี 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่1 การสร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒนธรรมตามเกณฑ์ 75/75 โดยพิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน จากนั้นนำไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นอนุบาล 3/1 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ4 จำนวน 3 คน เพื่อนำไปตรวจสอบความเหมาะสมของเนื้อหา ภาษาและเวลา จากนั้นปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดลองใช้กับนักเรียนจำนวน 9 คน เพื่อประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมตามเกณฑ์ 75/75 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม แบบประเมินความเหมาะสมคู่มือกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒนธรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สูตร E1/E2 ขั้นตอนที่ 2 เปรียบเทียบจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อเสริมสร้างจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัยในสังคมพหุวัฒนธรรม  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบวัดจิตรู้เคารพของเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นอนุบาล 3/4  โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4  จำนวน 27 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ใช้แบบแผนการทดลอง One-Group Pretest-Posttest Design ผลการวิจัยพบว่า 1.กิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว มี 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ตัดสินใจ 2) ขั้นการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ 3) ขั้นการส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 4) ขั้นการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ซึ่งมีผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (( = 4.8 ,S.D. = 0.29) และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.57/75.41 2. ผลกิจกรรมการจัดประสบการณ์โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว จิตรู้เคารพของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5502
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LalidaKaewnaluang.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.