Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKrisana Sroithipen
dc.contributorกฤษณา สร้อยทิพย์th
dc.contributor.advisorChamnan Panawongen
dc.contributor.advisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-05-30T02:20:48Z-
dc.date.available2023-05-30T02:20:48Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5498-
dc.description.abstractThis research article aims to develop context-based learning management with the polyas process to promote the ability to solve mathematical problems on ratio, proportion and percentage for Mathayomsuksa 1 students. The researcher conducted the research and development process as follows: Step 1: create and find the effectiveness of context-based learning management in conjunction with the polyas process to be effective 75/75 criterion. Step 2: study the results of learning management to compare the mathematical solving ability before-after learning and after studying compare with the criteria of 75 percent. And the 3rd step was to study the satisfaction of students towards learning management. The sample group consisted of Mathayomsuksa 1 students of Phichitpittayakom School in the academic year 2022. The results showed that 1. The results of creating the 3 plans context-based learning management with the polyas process in ratio, proportion and percentage  were appropriate at the highest level (mean = 4.71, S.D. = 0.34), with an efficiency of 75.03/75.56, which was in line with the 75/75 criterion. 2. Students who learn by using context-based learning with the polyas process have higher ability to solve math problems than before. Beside, more than 75 percent with statistical significance at the 0.5 level. 3. The students’satisfaction with the context-based learning management with thepolyas process at the highest level (mean = 4.57, S.D. = 0.64).en
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา ดังนี้ ขั้นที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 ขั้นที่ 2 ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังเรียน และหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และขั้นที่ 3 ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม ปีการศึกษา 2565 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการสร้างการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา เรื่องอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ จำนวน 3 แผน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.71, ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน = 0.34) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.03/75.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมากกว่าร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.57, ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน = 0.64)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectบริบทเป็นฐานth
dc.subjectกระบวนการโพลยาth
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectcontext baseden
dc.subjectpolyas processesen
dc.subjectmathematics problem solving abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับกระบวนการโพลยา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.titleTHE DEVELOPMENT LEARNING ACTIVITIES BY CONTEXT BASED CO-OPERATE WHIT POLYAS PROCESSES TO MATHEMATICS PROBLEM SOLVING ABILITY ON RATIO, PROPORTION AND PERCENTAGE FOR MATHAYOMSUKSA 1 STUDENTEen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChamnan Panawongen
dc.contributor.coadvisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.emailadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KrisanaSroithip.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.