Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5373
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Warapin Chawwiwat | en |
dc.contributor | วราพินทร์ ชาววิวัฒน์ | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-04-18T03:00:08Z | - |
dc.date.available | 2023-04-18T03:00:08Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5373 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study teachers' digital skills and approaches to promote teachers' digital skills under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 2. The research methods were divided into 2 steps: Step 1: Study of teachers' digital skills. The sample group were 291 teachers in school under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 2, selected by random sampling and divided according to the proportion of teachers in each school. The research instrument was the Teacher Digital Skills Questionnaire created by the researcher. The data were analyzed using a 5-level estimation scale, mean and standard deviation. Step 2: Study of approaches to promote teachers' digital skills under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 2. The informant group consisted of 5 experts, obtained by purposive sampling. The data collection instrument was the interview form for teachers' digital skills promotion and analyze the data with content analysis. The findings indicated that 1. The overall results of the study of teachers' digital skills under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 2 were at a high level. When considering by skill found that the highest average skill was Internet using skill at a high level, and the lowest average skill was Digital media creation programs using skill at a high level. 2. The results of the study of approaches to promoting teachers' digital skills under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 2 found that it should support the provision of new knowledge to teachers and encourage working on digital formats in school. To enable teachers to apply digital knowledge and skills to their operations and instructional management and support the budget and equipment for school thoroughly. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทักษะดิจิทัลของครูและแนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 มีวิธีการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาทักษะดิจิทัลของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 จำนวน 291 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของครูแต่ละโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามทักษะดิจิทัลของครูที่สร้างขึ้นโดยผู้วิจัย มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครู และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาทักษะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายทักษะ พบว่า ทักษะที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทักษะการใช้งานอินเทอร์เน็ต อยู่ในระดับมาก และทักษะที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ทักษะการใช้โปรแกรมสร้างสื่อดิจิทัล อยู่ในระดับมาก 2. ผลการศึกษา แนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 พบว่า ควรสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ให้กับครู ส่งเสริมให้เกิดการทำงานในรูปแบบดิจิทัลในสถานศึกษา ให้ครูนำความรู้และทักษะดิจิทัลไปใช้ ในการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณและอุปกรณ์ให้สถานศึกษาอย่างทั่วถึง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ทักษะดิจิทัล | th |
dc.subject | การส่งเสริม | th |
dc.subject | ครู | th |
dc.subject | digital skills | en |
dc.subject | promoting | en |
dc.subject | teacher | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 | th |
dc.title | APPROACHES TO PROMOTING TEACHERS DIGITAL SKILLSUNDER PHITSANULOK PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WarapinChawwiwat.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.