Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5289
Title: ปัจจัยที่กำหนดปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) ในประเทศไทย
Determinant of Non-Performing Loans (NPLs) of Specialized Financial Institutions (SFIs) of  Thailand
Authors: Khanittha Kummasit
ขนิษฐา กรรมสิทธิ์
Phakjira Nugbanleng
ภัคจิรา นักบรรเลง
Naresuan University
Phakjira Nugbanleng
ภัคจิรา นักบรรเลง
pakchiran@nu.ac.th
pakchiran@nu.ac.th
Keywords: หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
Non-Performing Loans
Specialized Financial Institutions
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: This study aims to explore Non-Performing Loans (NPLs) in Thailand and to examine the determinants of NPLs of Specialised Financial Institutions (SFIs) of Thailand. Data used in this study were collected from 6 SFIs financial statements from 4th quarter of 2008 to 4th quarter of 2019. Fixed-Effects and Random-Effects regression analysis was used in this study to find the most suitable model. The results of this study shows that the ratio of NPLS to total liabilities is at the average of 5.89%. Fixed-Effect regression was chosen and the results showed that lagged term of NPLs was positively related with the amount of NPLs at 0.01 significant level. The Operating efficiency and the size of the financial institutions showed the negative relationship with the amount o NPLs in SFIs at 0.01 and 0.10 significant level respectively. The results also showed that there was no relationship between the amount of NPLs and other determinants.
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่กำหนดปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจในประเทศไทย ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เลือกศึกษาสถาบันการเงินเฉพาะกิจจำนวน 6 แห่ง โดยเก็บข้อมูลเป็นรายไตรมาสจากงบการเงินของสถาบันการเงินเฉพาะกิจแต่ละแห่ง ตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2551 – ไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2562 รวมระยะเวลาศึกษาสูงสุด 45 ไตรมาส โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ Fixed Effects Regression และ Random Effects Regression และอาศัยการทดสอบ Hausman Test เพื่อช่วยในการตัดสินใจ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา พบว่า อัตราส่วนปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสินเชื่อรวมในช่วงเวลาเดียวกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 5.89 ผลการศึกษาพบว่าวิธี Fixed Effects Regression มีความเหมาะสมที่สุด ผลศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ คือ ปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ในอดีต (NPLt-1) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ คือ ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน(ซึ่งวัดโดยค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อรายได้รวม) และขนาดของสถาบันการเงิน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และ 0.10 ตามลำดับ ในส่วนของปัจจัยอื่นๆของการศึกษาในครั้งนี้พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจในประเทศไทย
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5289
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KhanitthaKummasit.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.