Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrateep Jaturapongsatonen
dc.contributorประทีป จตุรพงศธรth
dc.contributor.advisorSujinda Chemsripongen
dc.contributor.advisorสุจินดา เจียมศรีพงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-04-18T02:53:15Z-
dc.date.available2023-04-18T02:53:15Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5267-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the effect of antecedents of Innovativeness which consist of market orientation, learning orientation and entrepreneurial orientation that create innovativeness and performance of agriculture cooperatives in Thailand. The specific objectives of this study are 1) to study market orientation, learning orientation, and entrepreneurial orientation that affect innovativeness. 2) to study market orientation, learning orientation, and entrepreneurial orientation that affect organizational performance. 3) to study innovativeness and its effect on performance and 4) to study the indirect effects of market orientation, learning orientation, and entrepreneurial orientation on the innovativeness in, and performance of, agriculture cooperatives in Thailand. A cohort of 392 managers and assistant managers of district agriculture cooperatives, or persons appointed to act on their behalf, have been selected to participate in the research. The statistics used in this research are descriptive statistics and structural equation model analysis with Goodness of Fit criteria of CMIN/df = 1.934, CFI = 0.984, GFI = 0.941, RMR = 0.016 and RMSEA = 0.049. The results showed that  1) learning orientation (LO) and entrepreneurial orientation (EO) have a direct effect on innovativeness 2) market orientation (MO) has no direct effect on innovativeness 3) learning orientation (LO) has a direct effect on performance 4) market orientation (MO) and entrepreneurial orientation (EO) has no direct effect on performance 5) innovativeness directly affects performance 6) learning orientation (LO) and entrepreneurial orientation (EO) have an indirect effect on performance by enhancing innovativeness 7) market orientation (MO), has no indirect effect on performance by enhancing innovativeness Therefore, the relationship model of market orientation, learning orientation, and entrepreneurial orientation show that learning orientation (LO) is an important factor. By acknowledging this and implementing a learning orientation (LO) perspective in their organizations, agriculture cooperatives can create innovativeness that will bring performance gains. Learning behaviors, such as a commitment to learning, a shared vision and open-mindedness will support and encourage personnel to develop new ideas that will create a culture of innovativeness for the organization which will, in turn, create an entrepreneurial orientation that will support the organization to build a competitive advantage. Entrepreneurial orientation behavior will develop personnel who can analyze the competitive environment to find new ideas that will create a culture of innovativeness in the organization which will improve service levels and create new and innovative products that can respond to customers’ needs.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการมุ่งเน้นความสามารถทางนวัตกรรมที่ประกอบด้วย การมุ่งเน้นตลาด การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ ที่ส่งผลต่อความสามารถทางนวัตกรรมและผลการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ มีอิทธิพลต่อความสามารถทางนวัตกรรม 2) ศึกษาปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน 3) ศึกษาความสามารถทางนวัตกรรม มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน และ 4) ศึกษาปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด การมุ่งเน้นการเรียนรู้ และการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการส่งผลทางอ้อมต่อผลการดำเนินงานโดยส่งผ่านความสามารถทางนวัตกรรมของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้จัดการหรือผู้ช่วยผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรประจำอำเภอ หรือผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่แทนจำนวน 392 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structure Equation Model: SEM) ค่าความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้คือ CMIN/df=1.934, CFI=0.984, GFI=0.941, RMR = 0.016 และ RMSEA = 0.049 ผลการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการมุ่งเน้นกับความสามารถทางนวัตกรรมพบว่า การมุ่งเน้นการเรียนรู้ (LO) การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ (EO) มีอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถทางนวัตกรรม แต่การมุ่งเน้นตลาด(MO)ไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถทางนวัตกรรม เมื่อพิจารณาอิทธิพลของปัจจัยการมุ่งเน้นกับผลการดำเนินงานพบว่า การมุ่งเน้นการเรียนรู้ (LO) มีอิทธิพลทางตรงต่อผลการดำเนินงาน สำหรับการมุ่งเน้นตลาด (MO) และการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ (LO) ไม่ส่งผลทางตรงต่อผลการดำเนินงาน เมื่อพิจารณาอิทธิพลของความสามารถทางนวัตกรรมกับผลการดำเนินงานพบว่า ความสามารถทางนวัตกรรมมีอิทธิพลทางตรงต่อผลการดำเนินงาน และเมื่อพิจารณาอิทธิพลของการมุ่งเน้นตลาด (MO) การมุ่งเน้นการเรียนรู้ (LO) และการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ (EO) ส่งผลทางอ้อมต่อผลการดำเนินงานโดยส่งผ่านความสามารถทางนวัตกรรมพบว่า การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ (EO) และการมุ่งเน้นการเรียนรู้ (LO) มีอิทธิพลทางอ้อมโดยส่งผ่านความสามารถทางนวัตกรรม ขณะที่การมุ่งเน้นตลาดไม่มีอิทธิทางอ้อมโดยส่งผ่านจากความสามารถทางนวัตกรรม ดังนั้นรูปแบบความสัมพันธ์ของการมุ่งเน้นตลาด การมุ่งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางนวัตกรรมและผลการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทยช่วยให้ค้นพบว่าการมุ่งเน้นการเรียนรู้เป็นตัวแปรสำคัญมากที่สุดที่จะช่วยให้องค์กรสามารถสร้างความสามารถทางนวัตกรรมและส่งผลให้ผลการดำเนินงานขององค์กรเติบโตขึ้น พฤติกรรมการเรียนรู้ได้แก่ การมุ่งมั่นเรียนรู้ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันและการเปิดใจยอมรับจะช่วยให้บุคลากรเกิดแนวคิดใหม่ ๆ นำไปสู่วิธีการทำงานใหม่ ๆ หรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ที่จะก่อให้เกิดเป็นนวัตกรรมให้กับองค์กร ขณะที่การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการมีส่วนส่งเสริมให้องค์กรสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน พฤติกรรมการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการจะสนับสนุนให้บุคลากรสามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มโอกาสในการมองหาสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความสามารถทางนวัตกรรมให้กับองค์กรและนำความสามารถดังกล่าวมาพัฒนาสินค้าและบริการเพื่อสร้างสินค้าที่มีนวัตกรรมใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectปัจจัยการมุ่งเน้นต่อความสามารถทางนวัตกรรมth
dc.subjectการมุ่งเน้นตลาดth
dc.subjectการมุ่งเน้นการเรียนรู้th
dc.subjectการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการth
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมth
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมผลิตภัณฑ์th
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมกระบวนการth
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมการตลาดth
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมพฤติกรรมth
dc.subjectความสามารถทางนวัตกรรมกลยุทธ์th
dc.subjectผลการดำเนินงาน สหกรณ์การเกษตรth
dc.subjectAntecedents to Innovativenessen
dc.subjectMarket Orientationen
dc.subjectLearning Orientationen
dc.subjectEntrepreneurial Orientationen
dc.subjectInnovativenessen
dc.subjectProduct Innovativenessen
dc.subjectProcess Innovativenessen
dc.subjectMarket Innovativenessen
dc.subjectBehavioral Innovativenessen
dc.subjectStrategic Innovativenessen
dc.subjectPerformanceen
dc.subjectAgricultural Cooperativesen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationMarketing and advertisingen
dc.titleการศึกษาผลกระทบของการมุ้งเน้นตลาด การมุ้งเน้นการเรียนรู้ การมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการต่อความสามารถทางนวัตกรรมและผลการดำเนินงานของสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทยth
dc.titleA STUDY ON THE EFFECTS OF MARKET ORIENTATION LEARNING ORIENTATION AND ENTREPRENEURIAL ORIENTATION ON INNOVATIVNESS AND AGRICULTURAL COOPERATIVES PERFORMANCE IN THAILANDen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSujinda Chemsripongen
dc.contributor.coadvisorสุจินดา เจียมศรีพงษ์th
dc.contributor.emailadvisorsujindac@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsujindac@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารธุรกิจth
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PrateepJaturapongsaton.pdf3.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.