Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5255
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nuttapong Panboot | en |
dc.contributor | ณัฐพงษ์ ปานบุตร | th |
dc.contributor.advisor | Chuleekorn Danyuthasilpe | en |
dc.contributor.advisor | ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-04-18T02:51:05Z | - |
dc.date.available | 2023-04-18T02:51:05Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5255 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this quasi-experimental research was to examine the effects of a self-efficacy enhancing program on exercise behavior, blood pressure level and body mass index among a risk group of overweight participants. A cohort of 60 participants was divided into two groups of 30 each, designated as the control group or the experimental group. The experimental group undertook a self-efficacy-enhancing program while the controlled group received regular nursing care. The self-efficacy program was based on Bandura’s self-efficacy theory and exercise behavior questionnaires. The content validity index of the questionnaires was 0.95 with a reliability of 0.76. The data were analyzed by descriptive statistics and a t-test. The outcomes of the programs were: 1. After program implementation, the average score for exercise behavior of the experimental group was statistically significantly higher than before program implementation while the blood pressure level and body mass index of the experimental group was statistically significantly lower than before program implementation. (p<0.05) 2. After program implementation, the average score of exercise behavior of the experimental group was statistically significantly higher than the control group’s average score of exercise behavior while the blood pressure level and body mass index of the experimental group was statistically significantly lower than that of the control group. (p<0.05) These results suggest that community nurse practitioners can valuably apply the self-efficacy enhancing program based on Bandura’s self-efficacy theory to increase awareness of, and promote exercise behavior as a means to protect hypertension. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมออกกำลังกาย ระดับความดันโลหิต และค่าดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีน้ำหนักเกิน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเอง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามพฤติกรรมออกกำลังกาย มีค่าความตรง 0.95 ค่าความเที่ยง 0.76 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการทดลองค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมออกกำลังกาย ของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับความดันโลหิต และค่าคะแนนเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ของกลุ่มทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) 2. หลังการทดลองค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมออกกำลังกายของกลุ่มทดลอง สูงกว่ากลุ่มควบคุม ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับความดันโลหิต และค่าคะแนนเฉลี่ยดัชนีมวลกาย ของกลุ่มทดลอง ภายหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการศึกษาครั้งนี้ เสนอแนะว่าพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนสามารถนำโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเอง และส่งเสริมพฤติกรรมออกกำลังกายเป็นวิธีการเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเอง | th |
dc.subject | พฤติกรรมออกกำลังกาย | th |
dc.subject | ความดันโลหิต | th |
dc.subject | ค่าดัชนีมวลกาย | th |
dc.subject | Self-efficacy program | en |
dc.subject | Exercise behavior | en |
dc.subject | Blood pressure | en |
dc.subject | BMI | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรมออกกำลังกาย ระดับความดันโลหิต และค่าดัชนีมวลกาย ของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีน้ำหนักเกิน จังหวัดสุโขทัย | th |
dc.title | Effects of a Self-Efficacy Enhancing Program on Exercise behavior, Blood Pressure Level and Body Mass Index among a Pre-hypertension Group with Overweight, Sukhothai Province. | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chuleekorn Danyuthasilpe | en |
dc.contributor.coadvisor | ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | chuleekornd@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chuleekornd@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Nursing Science (M.N.S.) | en |
dc.description.degreename | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Nursing | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | คณะพยาบาลศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NilobonAiemyen.pdf | 8.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.