Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5254
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chonlapawee Mata | en |
dc.contributor | ชลปวีร์ มะทะ | th |
dc.contributor.advisor | Daranee Chiewchantanakit | en |
dc.contributor.advisor | ดารณี เชี่ยวชาญธนกิจ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-04-18T02:49:39Z | - |
dc.date.available | 2023-04-18T02:49:39Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5254 | - |
dc.description.abstract | The study looked at the effects of a Self-efficacy-based program on clinical outcomes in type 2 diabetes mellitus patients with poor glycemic control. Objective: To compare clinical outcomes for diabetic individuals with poor glycemic control after applying the Self-efficacy Theory. The study was to compare the improvement in the behavior and the quality of life in diabetes patients, as well as to assess medication adherence in participants with poor glycemic control, and to assess blood sugar levels against a specific pre-determined target. Method: This was a quasi-experimental research program. The study lasted 12 weeks and involved 32 diabetic patients with uncontrolled glycemia. The study's results were compared before and after the adoption of activities such as home visits and telephone calls by Namnao Hospital's provider to diabetic persons, using the Self-efficacy Theory, to alter the behavior and appropriate medication use of the patients. Result: The results of the 12-week experimental process were that the diabetes patients could reduce their FBS levels significantly from 147.25 ± 24.52 mg/dl to 139.59 ± 26.04 mg/dl (p=0.04). However, there was no significant alteration in HbA1c. The health-modifying behaviors resulted in the participants’ average calorie consumption before undergoing the health behavior adjustment process reducing from 1,690.50 ± 120.55 kcal to 1,571.63 ± 92.11 kcal after 6 weeks and 1,566.21 ± 80.16 kcal after 12 weeks. However, the participants’ BMI and average body weight did not change significantly by the end of the study. Additionally, medication adherence showed a significant improvement from 87.70% ± 10.06% at baseline to 94.33% ± 4.11% at week 6 (p=0.01) and 95.75% ± 3.33% (p<0.01) at the end of the research. The participants' quality of life significantly improved with decreasing scores on the impact factors from the Diabetes - 39 test, with diabetes control being the factor that had the most significant influence on their quality of life. Conclusion: The application of the Self-efficacy Theory to treating Type 2 diabetes patients with poor glucose control resulted in improved clinical outcomes and behavior change. However, blood glucose levels remained much higher than the targets. To help diabetics retain control of their disease, medication adjustments may be required. | en |
dc.description.abstract | ในการศึกษาผลของกระบวนการบริบาลภายใต้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อผลลัพธ์ด้านคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้เป็นการศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ด้านคลินิกภายใต้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อกระบวนการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ตลอดจนเพื่อเปรียบเทียบผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลของความร่วมมือในการใช้ยาและคะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน วิธีการวิจัย: การศึกษาครั้งนี้ดำเนินการในผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานจำนวน 32 คน ในระยะเวลา 12 สัปดาห์ โดยวัดผลเปรียบเทียบก่อนและหลังการศึกษาภายใต้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ โดยกำหนดแหล่งการพัฒนาสมรรถนะแห่งตนภายใต้กิจกรรมการดูแลผู้ป่วยรายบุคคลผ่านการเยี่ยมบ้านและติดตามผลทางโทรศัพท์ของทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลน้ำหนาวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการใช้ยาอย่างเหมาะสม ผลการศึกษา: เมื่อสิ้นสุดการศึกษาที่ 12 สัปดาห์ พบว่าผู้ป่วยสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จาก 147.25 ± 24.52 mg/dl เป็น 139.59 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารในช่วงก่อนได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แต่อย่างไรก็ตามไม่พบความแตกต่างของระดับน้ำตาลสะสมในเลือด ผลลัพธ์ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเมื่อสิ้นสุดการศึกษาพบว่าค่าพลังงานที่ได้รับในแต่ละวันเฉลี่ยลดลงจาก 1690.50 ± 120.55 kcal ในระยะก่อนการศึกษาเป็น 1571.63 ± 92.11 kcal (p < 0.01) ในสัปดาห์ที่ 6 และ 1566.21 ± 80.16 kcal ในสัปดาห์ที่ 12 (p < 0.01) แต่กลับไม่พบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายและค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัว นอกจากนี้ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญจากร้อยละ 87.70 ± 10.06 ในระยะก่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นร้อยละ 94.33 ± 4.11 (p = 0.01) ในสัปดาห์ที่ 6 และร้อยละ 95.75 ± 3.33 (p < 0.01) ในสัปดาห์ที่ 12 รวมทั้งคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมีแนวโน้มที่ดีขึ้นจากการลดลงของคะแนนปัจจัยตามแบบวัด Diabetes - 39 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมิติการควบคุมเบาหวานส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานสูงสุด สรุปผลการศึกษา: การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ สามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและผลลัพธ์ทางคลินิก แต่อย่างไรก็ตามระดับน้ำตาลในเลือดยังไม่สามรถบรรลุตามเป้าหมาย การปรับเพิ่มยาจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมเบาหวานได้ตามเกณฑ์กำหนด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | 1) กระบวนการบริบาล 2) สมรรถนะแห่งตน 3) เบาหวานชนิดที่ 2 | th |
dc.subject | 1) Care process 2) self-efficacy 3) type 2 diabetes mellitus | en |
dc.subject.classification | Medicine | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Medicine | en |
dc.title | ผลของกระบวนการบริบาลภายใต้การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อผลลัพธ์ด้านคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ | th |
dc.title | Results of Care Process under Applying of Self-Efficacy Theory to Clinical Outcomes among Uncontrolled Glycemia in Type 2 Diabetes Mellitus Patients | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Daranee Chiewchantanakit | en |
dc.contributor.coadvisor | ดารณี เชี่ยวชาญธนกิจ | th |
dc.contributor.emailadvisor | daraneec@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | daraneec@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Pharmacy (M.Pharm.) | en |
dc.description.degreename | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
Appears in Collections: | คณะเภสัชศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ChonlapaweeMata.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.