Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5088
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPUNCHARAT SONTIRAKen
dc.contributorปุญชรัสมิ์ สนธิรักษ์th
dc.contributor.advisorSuphornthip Thanaphatchottiwaten
dc.contributor.advisorสุพรทิพย์ ธนภัทรโชติวัตth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:46Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:46Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5088-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this study was to develop and examine the quality of English language learning activity package to improve reading comprehension skill. To compare the students' reading comprehension skill before and after learning using a learning management plan using a package of learning activities to develop reading comprehension skills and to study the students' satisfaction with the package of learning activity developed by the researcher. The researcher divided the objectives of the data analysis according to the research objectives. This is an experimental research using English learning activity package to enhance reading comprehension skills. The population and sample were 44 students in Mathayomsuksa 4 level. All 3 types of tools were used as follows: 1) A package of activities for teaching and learning English to develop reading comprehension skills: 1 package of activities consists of 5 activity sets, 5 learning plans, 2) 20 questions pre-study test/post-study test, 3) student satisfaction questionnaire with using English language learning activity package. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and One Group Pre-Test Post-Test Design. 1. Quality assurance of English language learning activity package to improve reading comprehension skills from the assessment of suitability and conformity are 0.80-1.00.   The reading comprehension test scores of pre-studies using English learning activities to develop reading comprehension skills were mean 13.05 while the post-study test using English learning activity package to improve reading comprehension skills were average 18.64. 2. Comparison of the students' reading comprehension abilities before and after students had learning achievements and developed reading comprehension skills. After school is higher than before statistically significant at the .05 level. 3. The satisfaction of the students in the sample group towards the learning management by using the English learning activity package for social media literacy, including 4 aspects, was at the highest level.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพชุดกิจกรรมรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น โดยแบ่งวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์การวิจัย การวิจัยดังกล่าวเป็นการวิจัยเชิงทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ทั้งหมด 3 ประเภท ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ จำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย 5 ชุดกิจกรรม 5 แผนการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน จำนวน 20 ข้อ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิยจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ One Group Pre -Test Post-Test Design  ผลการวิจัย พบว่า   1. คุณภาพของชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ จากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.80-1.00 คะแนน การทดสอบการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนก่อนเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 13.05 ในขณะที่คะแนนการทดสอบหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ดังกล่าว มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 18.64 ปรากฏว่าคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจก่อนและหลังเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.  ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด    th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectชุดกิจกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์th
dc.subjectทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectEnglish learning activity packageen
dc.subjectEnglish reading comprehension skillen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้ชุดกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์th
dc.titleDevelopment of English Reading Comprehension Skill By Using Media Literacy Activities Package For Students in Mathayomsuksa 4, Nakhonsawan School, Nakhon Sawan Provinceen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63091234.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.