Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5082
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wiranyupa Thongpad | en |
dc.contributor | วิรัลยุพา ทองพัด | th |
dc.contributor.advisor | Thitiya Bongkotphet | en |
dc.contributor.advisor | ธิติยา บงกชเพชร | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2023-01-11T02:30:45Z | - |
dc.date.available | 2023-01-11T02:30:45Z | - |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5082 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study the learning management of argument-driven inquiry (ADI) for enhancing scientific literacy of sound and 2) to study the development of scientific literacy after implementing argument-driven inquiry. This research was Classroom Action Research. The participants were 34 students in grade 11 from a school in Phetchabun province in the second semester of academic year 2021. The research instruments consisted of three ADI lesson plans, a reflective learning management form, a student investigation report, and a scientific literacy test. The data were analyzed by using both qualitative and quantitative data analysis, which included mean, percentage, standard deviation, and content analysis. For the results of the study, The effective implementation of argument-driven inquiry could enhance scientific literacy in sound was described as follows: Teachers used videos and everyday situations about sound for students identify problems, hypothesized, designed experiments, and collected data to support their arguments. The elements of the argument should be clearly explained. In an argument, students should present their arguments based on the evidence and express their opinions to the point. Teachers should use stimulating questions to engage students and instruct students to review and improve the report. The students demonstrated the highest level of competence in interpreting data and evidence scientifically was at 71.18 percent, followed by competence in the evaluating and designing scientific enquiry was at 70.88 percent, and the competence in explaining phenomena scientifically was at 67.95 percent, respectively. | en |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียงและ 2) เพื่อศึกษาผลการส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง เสียง รูปแบบการวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมขนาดกลางแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ รายงานผลการตรวจสอบและแบบวัดความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพได้แก่ การวิเคราะห์ด้านเนื้อหาและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เรื่องเสียง ควรมีลักษณะดังนี้ ครูควรใช้วิดีโอและสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่เกี่ยวข้องกับเสียง เพื่อให้นักเรียนระบุปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลองและเก็บข้อมูลเพื่อนำหลักฐานมาสร้างข้อโต้แย้ง ควรอธิบายองค์ประกอบการโต้แย้งให้ชัดเจน ในการโต้แย้ง นักเรียนควรนำเสนอข้อโต้แย้งจากหลักฐานที่ได้ และแสดงความคิดเห็นอย่างตรงประเด็นและครูควรใช้คำถามกระตุ้นเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วม และกำชับให้นักเรียนตรวจสอบและปรับปรุงรายงาน 2. นักเรียนแสดงสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ได้สูงที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.18 รองลงมาคือ สมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 70.88 และสมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 67.95 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะด้วยกลวิธีการโต้แย้ง, ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์, เสียง | th |
dc.subject | Argument-Driven Inquiry | en |
dc.subject | Scientific Literacy | en |
dc.subject | Sound | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์เรื่อง เสียง ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.title | Implementing Argument-Driven Inquiry for Enhancing Scientific Literacy in Sound Topic for 11th Grade Students | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63090916.pdf | 3.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.