Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWARUT LARBUEen
dc.contributorวรุฒ หล้าบือth
dc.contributor.advisorArtorn Nokkaewen
dc.contributor.advisorอาทร นกแก้วth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:45Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:45Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5081-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to study instructional guidelines for promoting mathematical reasoning competency according to the 5 practices integrated with metacognitive strategies and to study the effects of learning implementation based on the 5 practices integrated with metacognitive strategies in three-dimensional geometry lesson for sixth grade students. Four cycles of action research were conducted in 14 hours. Research tools of this study included learning management plans, activity sheets, an instructional reflection form, a video recording and mathematical reasoning competency tests. Data were analyzed by content analysis, data creditability by triangulation method. The results reveals five instructional guidelines including 1) guideline for preparing before and during learning management; 2) guideline for promoting the use of metacognition in students’ work; 3) guideline for using questions during learning management; 4) guideline for stimulation and participation; 5) guideline for connecting and forming mathematical ideas. The study indicates a positive trend of mathematical reasoning competency. After learning the fourth cycle, 36.84 percent of the students had a very good level of competence in reasoning about knowledge and conditions. 36.84 percent of the students had a very good level of competence in reasoning about representation. 21.05 percent of students had a very good level of competence in reasoning about processes and procedures. 36.84 percent of the students had a very good level of competence in reasoning about conclusions. and 21.05 percent of students had a very good level of competence in reasoning about identifying and analyzing constraints.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ 5 แนวปฏิบัติการสอนร่วมกับกลวิธีเชิงอภิปัญญาที่ส่งเสริมสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์และศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ 5 แนวปฏิบัติการสอนร่วมกับกลวิธีเชิงอภิปัญญาที่มีต่อสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนจำนวน 4 วงจร ใช้เวลาทั้งหมด 14 ชั่วโมง เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ การบันทึกวิดีทัศน์และแบบวัดสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ โดยนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ควรเน้นมี 5 แนวทาง ประกอบด้วย แนวทางการเตรียมความพร้อมก่อนและระหว่างการจัดการเรียนรู้ แนวทางส่งเสริมการใช้กลวิธีเชิงอภิปัญญาในการทำงานของนักเรียน แนวทางการใช้คำถามระหว่างการจัดการเรียนรู้ แนวทางการกระตุ้นการมีส่วนร่วม และแนวทางการเชื่อมโยงและพัฒนาแนวคิด 2) นักเรียนมีแนวโน้มการพัฒนาสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์เพิ่มสูงขึ้นในแต่ละวงจรปฏิบัติการ โดยหลังเรียนวงจรปฏิบัติการที่ 4 นักเรียนร้อยละ 36.84 มีระดับสมรรถนะการให้เหตุผลเกี่ยวกับความรู้และเงื่อนไขอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนร้อยละ 36.84 มีระดับสมรรถนะการให้เหตุผลเกี่ยวกับการแสดงแทนอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนร้อยละ 21.05 มีระดับสมรรถนะการให้เหตุผลเกี่ยวกับกระบวนการและขั้นตอนอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนร้อยละ 36.84 มีระดับสมรรถนะการให้เหตุผลเกี่ยวกับข้อสรุปอยู่ในระดับดีมาก และนักเรียนร้อยละ 21.05 มีระดับสมรรถนะการให้เหตุผลเกี่ยวกับการระบุและวิเคราะห์ข้อจำกัดอยู่ในระดับดีมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subject5 แนวปฏิบัติการสอนth
dc.subjectอภิปัญญาth
dc.subject5 แนวปฏิบัติการสอนร่วมกับกลวิธีเชิงอภิปัญญาth
dc.subjectสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectFive practicesen
dc.subjectMetacognitiveen
dc.subjectFive practices integrated with metacognitiveen
dc.subjectmathematical reasoning competencyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ 5 แนวปฏิบัติการสอนร่วมกับกลวิธีเชิงอภิปัญญาที่มีต่อสมรรถนะการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleTHE EFFECTS OF USING 5 PRACTICES AND METACOGNITIVE ACTIVITIES ON MATHEMATICAL REASONING COMPETENCY OF SIXTH GRADE STUDENTen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090855.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.