Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTeerawit Niamphokaen
dc.contributorธีรวิทย์ เนียมโภคะth
dc.contributor.advisorSuriya Chapooen
dc.contributor.advisorสุริยา ชาปู่th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:44Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5072-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study how to use a method and study the results of using the method of context-based learning with social network for enhance health literacy about immune system of Mattayom 5 students. This research is action research with 3 cycles of process. The target population was 40 of Mattayom 5 students who were studying in academic year 2021 in a school in Kamphaengphet. The instruments used were lesson plans, lesson reflection forms, activity sheets and assessment forms of health literacy. Data was analyzed using data triangulation to analyze the content and qualitative reliability. The findings showed that context-based learning with social network method should focus on interesting situations  their daily life and could encourage and motivate the students to learn. The result of the health literacy assessment was that the students’ health literacy was respectively enhanced from cycle 1 to cycle 3 of the process. The aspects of students’ health literacy improved the most were an access skill, a cognitive skill and a self-management skill; secondly, there were a media literacy skill and a decision skill. The least improved aspect was a communication skill.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้และผล การจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เรื่องระบบภูมิคุ้มกัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 วิจัยนี้เป็นวิจัยปฏิบัติการ 3 วงจรปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม และแบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ควรให้ความสำคัญกับการเลือกสถานการณ์ที่มีความน่าสนใจ อยู่ในชีวิตประจำวันของผู้เรียน สามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะศึกษา สำหรับผลการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ พบว่า นักเรียนมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นตามลำดับจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 ถึง 3 โดยองค์ประกอบความรอบรู้ด้านสุขภาพที่นักเรียนพัฒนามากที่สุด คือ การเข้าถึงข้อมูลและบริการ ความรู้ความเข้าใจ ทักษะการจัดการตนเอง รองลงมา คือ การรู้เท่าทันสื่อ การตัดสินใจเพื่อการปฏิบัติ และลำดับสุดท้าย คือ ทักษะการสื่อสารth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานth
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพth
dc.subjectระบบภูมิคุ้มกันth
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th
dc.subjectcontext based learningen
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectimmune systemen
dc.subjectsocial networken
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้บริบทเป็นฐานร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ เรื่องระบบภูมิคุ้มกัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.titleContext-based learning with social network for enhancing health literacy about immune system for grade 11 students  en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090466.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.