Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5055
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Noramon Pota | en |
dc.contributor | นรมน โปธา | th |
dc.contributor.advisor | Sirinapa Kijkuakul | en |
dc.contributor.advisor | สิรินภา กิจเกื้อกูล | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2023-01-11T02:30:41Z | - |
dc.date.available | 2023-01-11T02:30:41Z | - |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5055 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this qualitative research are to 1) develop a constructivist learning approach using semiotics to promote scientific communication skills and 2) to study the development of scientific that skills of 25 students in Grade 10 about the cell functions at an Opportunity Expansion School in Chiang Rai Province. The research tools include lesson plans, reflective journals, observations, and the post test. Research methodology is action research carried out in 4 spiral cycles. The data were analyzed with contenr analysis and validated by triangulations. The results showed that the constructivist semiotics learning approach consists of 5 steps as: 1) brain preparation 2) basic knowledge building 3) group operation 4) product creation and 5) knowledge presentation .Also the data analysis revealed that the students develop six' scientific communication skills sorted in descending order as 1) listening and observing skill 2) scientific reading skill 3) visual representation skill 4) accessibility to information skill 5) knowledge presentation skill and 6) scientific writing skill. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้สัญศาสตร์บนฐานของคอนสตรัคติวิสซึม ที่ส่งเสริมทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการทำงานของเซลล์ และ 2) ศึกษาพัฒนาการด้านทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การทำงานของเซลล์ ณ โรงเรียนขยายโอกาสแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงราย จำนวน 25 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แผนการเรียนรู้ แบบสะท้อนผล แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบวัดทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 วงจรปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและการตรวจสอบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้สัญศาสตร์บนฐานคอนสตรัคติวิสซึม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1. ขั้นเตรียมสมอง 2. ขั้นสร้างความรู้พื้นฐาน 3. ขั้นทำปฏิบัติการกลุ่ม 4. ขั้นสร้างผลงานและ 5. ขั้นนำเสนอความรู้ นอกจากนี้พบว่า นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ 6 ทักษะ ดังนี้ ทักษะการฟังและการสังเกต ทักษะการอ่านเชิงวิทยาศาสตร์ ทักษะการสร้างตัวแทนภาพ ทักษะการเข้าถึงข้อมูล ทักษะการนำเสนอความรู้ความเข้าใจ และทักษะการเขียนเชิงวิทยาศาสตร์ ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ | th |
dc.subject | คอนสตรัคติวิสซึม | th |
dc.subject | สัญศาสตร์ | th |
dc.subject | Scientific communication skills | en |
dc.subject | Constructivism | en |
dc.subject | Semiotics | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | การประยุกต์ใช้สัญศาสตร์บนฐานของคอนสตรัคติวิส เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง การทำงานของเซลล์ ของนักเรียนชาติพันธุ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 | th |
dc.title | Applying constructivist semiotics to develop scientific communication skills about the cell functions of an ethnic student group in Grade 10 during the 2019 coronavirus epidemic | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62090115.pdf | 5.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.