Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChatsuda Sapcharoenen
dc.contributorฉัตรสุดา ทรัพย์เจริญth
dc.contributor.advisorTaweesak Sawangmeken
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ สว่างเมฆth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:40Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:40Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5050-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research is a Quasi-experimental and survey research which purposes are to compare the results of the physical activity affecting health-related physical fitness, according to the guidelines of Active Learning School, of an experimental group, the results of the physical activity affecting health-related physical fitness, according to the guidelines of Active Learning School, between an experimental group and control group of junior high school students, and to study students’ satisfaction towards the physical activity program. A sample group of this research consists of 72 volunteered junior high school students of Naresuan University Secondary Demonstration School, studying in 2020, selected by using the purposive sampling method divided into two groups: 36 students of an experimental group who use the physical activity program and 36 students of a control group who exercise normally. Tools used in this research are the physical activity program and satisfaction survey. Time spent in this study is 8 weeks, 3 days per week using daily exercises in the program. During the experiment, the researcher collects variable data of health ‌–‌ related physical fitness, examines students’ physical fitness before and after attending the program and study their satisfaction towards the program. The statistics used in the analysis after the experiment are mean, standard deviation, dependent t-test and independent t-test. The findings of this research reveal that: 1. Mean and standard deviation of the results of the physical activity for junior high school students, an experimental group, before and after taking the program are different at the .05 level of significance. 2. Mean and standard deviation of the results of the physical activity for junior high school students, between an experimental group and a control group, before and after taking the program are different at the .05 level of significance. 3. The results of students’ satisfaction towards the physical activity affecting health-related physical fitness, according to the guidelines of Active Learning School, on personnel, management, locations, facilities, and services during attending the program are at a high level (X = 4.15)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research) และการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกลุ่มทดลอง และเพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกายระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 72 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง 36 คน ที่ได้รับการใช้โปรแกรมกิจกรรมทางกาย และกลุ่มควบคุม จำนวน 36 คน ที่ได้ออกกำลังกายในชีวิตประจำวันตามปกติ โดยทำการใช้โปรแกรมฝึกสัปดาห์ละ 3 วัน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ และทำการเก็บข้อมูลตัวแปรด้านสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลังการใช้โปรแกรม และศึกษาความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น หลังสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยนำผลมาวิเคราะห์ตามระเบียบวิธีทางสถิติ โดยทำการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างภายในกลุ่มด้วยการทดสอบค่าที (Dependent t-test) และระหว่างกลุ่มด้วยการทดสอบค่าที (Independent t-test) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการฝึกด้วยโปรแกรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังการฝึก พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการฝึกด้วยโปรแกรมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการฝึก พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกายพบว่า ด้านบุคลากร ด้านการจัดการ ด้านสถานที่ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก และด้านบริการ มีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยู่ระดับมาก (X = 4.15)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมทางกายth
dc.subjectสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพth
dc.subjectโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกายth
dc.subjectPhysical activityen
dc.subjectHealth-Related Physical fitnessen
dc.subjectPhysical Activity Schoolen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleผลของโปรแกรมกิจกรรมทางกายที่มีต่อสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมกิจกรรมทางกายth
dc.titleEFFECTS OF PHYSICAL ACTIVITY PROGRAM FOR HEALTH-RELATED PHYSICAL FITNESS AMONG HIGH SCHOOL STUDENTS IN PHYSICAL ACTIVITY SCHOOen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62061115.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.