Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKHANITTHA MUANGSRIJANen
dc.contributorขนิษฐา ม่วงศรีจันทร์th
dc.contributor.advisorChalong Chatruprachewinen
dc.contributor.advisorฉลอง ชาตรูประชีวินth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:35Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:35Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5044-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis study mainly focused on the development of administration to develop the students’ innovative characteristics in schools expanding educational opportunities. The certain purposes were to 1) investigate the needs and administrative methods in order to improve the students’ innovative characteristics development in schools expanding educational opportunities; 2) create an administrative model in order to improve the students’ compacity; and 3) evaluate the administrative pattern in order to improve the students’ innovative characteristics development in schools expanding educational opportunities. The study process included 3 phrases. Firstly, the investigation of needed and development methods of the students’ innovative characteristics in schools expanding educational opportunities from 364 school administrators and academic teachers in schools expanding educational opportunities in the lower northern provinces: this phrase also discovered the administrative patterns in order to improve the students’ innovative characteristics in schools expanding educational opportunities by interviewing 3 administrators from schools that were awarded as Best Practice, obtained by purposive selection. There was also the investigation of administrative patterns for the development of the students’ innovative characteristics by interviewing 5 experts, obtained by purposive selection. Secondly, the creation of administrative model to develop students’ innovation characteristics in schools to expand educational opportunities, and verification of the appropriateness by 9 qualified experts, obtained by purposive selection. Finally, the third phrase was the evaluation of administrative model to develop the students’ innovative characteristics in schools expanding educational opportunities. The evaluators were 364 school administrators and academic teachers from schools expanding educational opportunities in Lower-Northern region. The data were analyzed by employing standard deviation. The results showed that the administrative model to develop the students’ innovative characteristics in schools to expand educational opportunities consisted of 2 elements. The first element was Input Factors, including 5 factors: school policy regulation to develop the students’ innovative characteristics, identification organization values to improve the students’ innovative characteristics, the persons being responsible for the students’ innovative characteristics development, budget, and information science. The second aspect was Process, including 1) organization valuing and teachers’ development for the development of students’ innovative characteristics, 2) environmental creation to encourage the development of students’ innovative characteristics, 3) knowledge management to improve the innovative characteristics, and 4 participatory management. The final process was Product, including 4 characteristics: 1) thinking skills, 2) performance, 3) personality, and 4) knowledge connection. The conditions for succeed included 2 parts: 1) the administrative factors in which supported and encouraged the adequate development of the students’ innovative characteristics, and 2) both internal and external strong connections of the schools. The result of the possibility of the model was found in the High level, whereas the usefulness was found in the Highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะ ความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 3) เพื่อประเมินรูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  มีการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  โดยการศึกษาความต้องการจำเป็นเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูฝ่ายวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง จำนวน  364  คน และศึกษาแนวทางการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ จำนวน 3 โรงเรียน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และการศึกษาแนวทางการบริหารการบริหารเพื่อคุณลักษณะพัฒนาความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ  จำนวน 5 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง  ขั้นตอนที่ 2  การสร้างรูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  และตรวจสอบความเหมาะสมจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ขั้นตอนที่ 3  การประเมินรูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  โดยการประเมินจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูฝ่ายวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 364 คน  วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา  ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ  องค์ประกอบที่ 1 ด้านปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 5  ปัจจัย คือ  1.1) การกำหนดนโยบายของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน  1.2)  การกำหนดค่านิยมองค์กรของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน  1.3) องค์คณะบุคคลในการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน  1.4) งบประมาณ  1.5) เทคโนโลยีและสารสนเทศ  องค์ประกอบที่ 2  ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย  1) การสร้างค่านิยมองค์กรและการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน 2) การสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน  3)  การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียน 4)  การบริหารแบบมีส่วนร่วม  องค์ประกอบที่ 3  ด้านผลผลิต ประกอบด้วย 4 คุณลักษณะ คือ 1) ทักษะการคิด   2) การทำงาน   3) บุคลิกภาพ  4) การเชื่อมโยงความรู้  และเงื่อนไขแห่งความสำเร็จ ประกอบด้วย 2  เงื่อนไข คือ 1) การมีปัจจัยการบริหารที่ส่งเสริมและสนับสนุนที่ครอบคลุมการพัฒนาความเป็นนวัตกรของนักเรียนที่เพียงพอ 2) การมีเครือข่ายความร่วมมือที่เข้มแข็งทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ซึ่งผลการประเมินรูปแบบมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และมีความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการบริหารth
dc.subjectคุณลักษณะความเป็นนวัตกรth
dc.subjectนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาth
dc.subjectA management Modelen
dc.subjectStudents' innovative characteristicsen
dc.subjectSchools expanding educational opportunitiesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความเป็นนวัตกรของนักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาth
dc.titleA MANAGEMENT MODEL TO DEVELOP STUDENT' S INNOVATIVE CHARACTERISTICS IN SCHOOLS EXPANDING EDUCATIONAL OPPORTUNITIESen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62030746.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.