Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | JINDA UNTHONG | en |
dc.contributor | จินดา อุ่นทอง | th |
dc.contributor.advisor | Chaiwat Sutthirat | en |
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2023-01-11T02:30:32Z | - |
dc.date.available | 2023-01-11T02:30:32Z | - |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5030 | - |
dc.description | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | This study aims to improve the curriculum to enhance the research ability of special education teachers. The curriculum was developed with an interdisciplinary team. The research methodology comprised four processes. First, investigate the difficult conditions of classroom research and find solutions to develop and improve its potential. Second, develop the curriculum and verify it in accordance with curriculum quality requirements. Third, determine the results of the curriculum application. Fourth, evaluate and improve the curriculum. Thirty teachers from a special education institute composed the target group. The research tools used were questionnaires about the difficult conditions of classroom research, interviews on curriculum improvement methods, evaluation of the curriculum appropriateness, assessment of classroom research knowledge, assessment of the potential of classroom research, and questionnaires for the curriculum users. Included in the research methodologies were the investigation of the problems and solutions for the curriculum, the study of the results of the improved curriculum application by comparing the acknowledgment of classroom research of the special education teachers, and the assessment and improvement of the curriculum to improve the classroom research potential of the special education teachers. The statistics used were mean, standard deviation, T-statistic, and data analysis. The study revealed the following results. 1) The classroom research condition of special education teachers was fair. The problems in conducting classroom research and making curriculum improvements to promote classroom research with the corporation of the Interdisciplinary approach to develop knowledge and potential of classroom research were high. 2) The curriculum is composed of background and rationale, purposes, content structure, activities arrangements, and evaluation of the activities. The process was divided into 4 phases. Phase 1 – preparation of knowledge development. Phase 2 – curriculum development together with the Teaching Step 1 – goal identification and lesson planning. Phase 3 – curriculum application along with the Teaching Step 2 – teaching and observation and the Teaching Step 3 – lesson reflection. Phase 4 was about the lesson development integrated with the Teaching Step 4 – knowledge-sharing. The appropriateness of the curriculum was at the Highest Level. 3) The result of the curriculum development and application revealed that special education teachers had gained knowledge and understanding of classroom research after the improvement activities, with a significant statistical result of .01. Also, the teachers’ potential in classroom research after the improvement activities was found at a High Level. 4) The curriculum assessment and improvement result showed that the curriculum was appropriate. The possibility of its application was at the highest level and improvements to the time-period structure. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษ โดยใช้การพัฒนาบทเรียนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพ ดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหาและแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างความสามารถการวิจัยในชั้นเรียน 2) สร้างและตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร 3) ศึกษาผลการใช้หลักสูตร และ 4) ประเมินและปรับปรุงหลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูศูนย์การศึกษาพิเศษ 30 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพและปัญหาการวิจัยในชั้นเรียน แบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาหลักสูตร แบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร แบบวัดความรู้ความเข้าใจการวิจัยในชั้นเรียน แบบวัดความสามารถการวิจัยในชั้นเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการใช้หลักสูตร ดำเนินการวิจัยโดยศึกษาสภาพ ปัญหาและแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ศึกษาผลการใช้หลักสูตรโดยเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษก่อนและหลังการพัฒนา และเปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และศึกษาความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษหลังการพัฒนา และประเมินและปรับปรุงหลักสูตรเสริมสร้างความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษ สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษ อยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาการวิจัยในชั้นเรียนอยู่ในระดับมาก และมีแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้การพัฒนาบทเรียนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพในการพัฒนาความรู้และความสามารถการวิจัยในชั้นเรียน 2) หลักสูตรประกอบด้วย ความเป็นมา หลักการ จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง เนื้อหา การจัดกิจกรรม และการวัดและประเมินผล การจัดกิจกรรม ดำเนินการเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เตรียมความพร้อม พัฒนาความรู้ ระยะที่ 2 พัฒนาบทเรียนร่วมกัน ใช้กิจกรรมพัฒนาบทเรียนร่วมกันขั้นที่ 1 กำหนดเป้าหมายและวางแผนบทเรียน ระยะที่ 3 นำบทเรียนไปใช้ ใช้กิจกรรมพัฒนาบทเรียนร่วมกันขั้นที่ 2 สอนและสังเกตการสอน และขั้นที่ 3 สะท้อนผลบทเรียน ระยะที่ 4 ขยายผลบทเรียน ใช้กิจกรรมพัฒนาบทเรียนร่วมกันขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลการใช้หลักสูตร พบว่า ครูการศึกษาพิเศษมีความรู้ความเข้าใจการวิจัยในชั้นเรียนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และครูมีความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนหลังการพัฒนาอยู่ในระดับมาก 4) ผลการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด และมีการปรับปรุงโครงสร้างเวลา | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การวิจัยในชั้นเรียน | th |
dc.subject | การพัฒนามหาวิทยาลัยร่วมกัน | th |
dc.subject | ทีมสหวิชาชีพ | th |
dc.subject | Classroom Research | en |
dc.subject | Lesson Study | en |
dc.subject | Interdisciplinary team | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างความสามารถการวิจัยในชั้นเรียนของครูการศึกษาพิเศษ โดยใช้การพัฒนาบทเรียนร่วมกันกับทีมสหวิชาชีพ | th |
dc.title | THE CURRICULUM DEVELOPMENT TO ENHANCE SPECIAL EDUCATION TEACHERS’ CLASSROOM RESEARCH ABILITY USING LESSON STUDY WITH AN INTERDISCIPLINARY TEAM | eh` |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61030273.pdf | 8.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.