Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHANCHIT TUPMEEen
dc.contributorชาญชิต ทัพหมีth
dc.contributor.advisorVithaya Jansilaen
dc.contributor.advisorวิทยา จันทร์ศิลาth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:31Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:31Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5023-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop model of moral school management under the primary educational service area office in the Northern Region. The research was divided into three stages; the first stage is studying guidelines of moral school development that consists of documentary research by studying and collecting data from documents and research related to moral school development and studying of moral school development guidelines with best practices from moral school. The second stage is creation and verifying the appropriateness of the moral school development model that consist of drafting the moral school development model and verifying the appropriateness of the moral school development model by experts. And the third stage is the assessment of the moral school development model by school administrators The finding of this research found that the moral school development model consist of 6 components; the first component is the propose of the moral school development model that consist of 1) development teachers to be aware of the roles and responsibilities of the teacher's career and to enhance ethics in schools 2) development students' morals and ethics with an emphasis on systematic thinking and through the moral project and 3) development schools to carry out moral development by using the principle of participation, the principle of responsibility and the principle of ownership with pride. The second component is the principle of the moral school development model that consists of the principles of his majesty's work, the principle of participation, the principle of responsibility and the principle of ownership with pride. The third component is import factor of the moral school development model that consists of committee and methods for moral development. The forth component is the process of the moral school development model that consists of; 1) setting moral goals 2) the preparation 3) performance to develop and 4) evaluation. The fifth component is resultant that consists of teachers and students. And the last component is the assessment guidelines that consists of assessment committee, assessment issues, assessment methods and assessment tools. Success conditions are; 1) school administrators must be leaders and being a good model. 2) The operation of the moral school must cooperate with the whole school by operating systematically and continuously. The results of the suitability check of the moral school development model by experts is appropriate and the assessment results of the moral school development model is at a high level of possibility and useful at the highest level.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือ ในการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม ประกอบด้วย ขั้นที่ 1.1 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรมโดยการสังเคราะห์เอกสาร ขั้นที่ 1.2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม โดยศึกษาจากโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี  (Best Practice)  ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม ประกอบด้วย ขั้นที่ 2.1 การยกร่างรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม ขั้นที่ 2.2 การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม โดยผู้บริหารโรงเรียน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 วัตถุประสงค์รูปแบบ ประกอบด้วย 1) เพื่อพัฒนาครูให้ตระหนักในบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบอาชีพครู และเสริมสร้างจริยธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนโดยเน้น ความคิดเชิงระบบ และผ่านโครงงานคุณธรรม 3) เพื่อให้โรงเรียนสามารถดำเนินการพัฒนาคุณธรรมโดยใช้หลักทรงงานหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความเป็นเจ้าของด้วยภาคภูมิใจ องค์ประกอบที่  2  หลักการรูปแบบการ  ประกอบด้วย  1) หลักการทรงงาน  2) หลักการมีส่วนร่วม 3) หลักความรับผิดชอบ 4) หลักความเป็นเจ้าของด้วยความภาคภูมิใจ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการ 2) วิธีการพัฒนาคุณธรรม องค์ประกอบที่ 4 กระบวนการ ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดคุณธรรมเป้าหมาย ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมการ ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินการพัฒนา  ขั้นตอนที่ 4  การประเมินผล องค์ประกอบที่ 5  ผลลัพธ์ ประกอบด้วย  1)  ครู และ 2) ผู้เรียน  องค์ประกอบที่ 6  แนวทางการประเมิน  ประกอบด้วย 1)  คณะกรรมการประเมิน  2) ประเด็นการประเมิน 3) วิธีการประเมิน และ 4) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน และเงื่อนไขความสำเร็จ ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารต้องเป็นผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดี 2) การดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรมต้องร่วมมือกันทั้งโรงเรียน โดยดำเนินงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือ ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่า มีความเหมาะสม ส่วนผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือ ผู้บริหารโรงเรียนมีความเห็นว่ามีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการพัฒนาth
dc.subjectโรงเรียนคุณธรรมth
dc.subjectDevelopment Modelen
dc.subjectMoral Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการพัฒนาการบริหารโรงเรียนคุณธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเขตภาคเหนือth
dc.titleTHE DEVELOPMENT MODEL OF MORAL SCHOOL MANAGEMENT UNDER THE PRIMARY EDUCATIONAL SEVICE AREA OFFICE IN THE NORTHERN REGIONen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60031776.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.