Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPisarn Khuaeliten
dc.contributorพิศาล เครือลิตth
dc.contributor.advisorChamnan Panawongen
dc.contributor.advisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:28Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:28Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5014-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were to develop the sufficiency economy philosophy curriculum for lower-secondary students. The research methodology employed four stages: 1) a study of the basic information regarding the sufficiency economy philosophy to enhance the economical life of lower-secondary students, 2) developing and monitoring the sufficiency economy philosophy to enhance the economical life curriculum of lower-secondary students, 3) conducting a pilot study and studying the use of the sufficiency economy philosophy to enhance the economical life of lower-secondary students, and 4) evaluating the sufficiency economy philosophy to enhance the economical life of lower-secondary students. The sample included 30 lower-secondary students at Phayao University Demonstration School in the academic year 2021, obtained using the purposive sampling method from the students who voluntarily participated in learner development activities. The students’ parents and educational experts were also interviewed. The instruments consisted of 1) The interview form and guidelines for eliciting information from the students about their understanding of economic life characteristics, 2) The curriculum to teach the students about the sufficiency economy philosophy, and 3) Three assessment forms to ascertain the students’ economical life characteristics of modesty, reasonableness, and good immunity. The data were analyzed using average, standard deviation, and independent T-tests. The results were as follows: 1. Based on the information received in the interviews with the students, parents and educational experts, the results showed that the level of understanding of the sufficiency economy philosophy among students was very low. The students should be instructed in the sufficiency economy philosophy that consists of 1) modesty, 2) reasonableness, and 3) good immunity. Active learning via a learning process designed according to the sufficiency economy philosophy and the concepts of Character Education introduced by Lickona (1992) were considered to be appropriate. Character Education consists of good attributes interconnected with ethical cognition, ethical consciousness, and ethical practices. In the curriculum, components of the good attribute were to create an experience, to learn new things with old knowledge, to reflect the idea connected to the philosophy of sufficiency economy, to build knowledge and to apply and define the traits of sufficient living as a guideline to continuously practice until it becomes characterization that is durable and life-long. 2. The curriculum for the sufficiency economy philosophy consists of six components: 1) principles of the curriculum 2) objectives of the curriculum 3) structure of activities and experience 4) management of learning activities to develop sufficient characteristics in 5 steps -- preparation for creating experiences, learning new things from prior knowledge, reflecting the idea connected to the philosophy of sufficiency economy, creating knowledge, and applying and define sufficiency characteristics, 5) learning instruments and resources, and 6) assessment and evaluation. The result of the developed curriculum was appropriate at the highest level; the result from the pilot study also revealed the possibility of manipulating the curriculum.              3. After the curriculum had been implemented, the results showed that 1) after participating in the curriculum the students’ level of understanding of the sufficiency economy philosophy was at a high level (X̄ = 70.51, S.D. = 5.92). The results showed that, of the economical life characteristics taught, the highest level was 'having good immunity' (X̄ = 74.12, S.D. = 7.64) followed by ‘reasonableness’ (X̄ = 75.55, S.D. = 6.69) and ‘modesty’ was in the medium level (X̄ = 66.41, S.D. = 3.45). The result of the observations of sufficiency economy philosophy behaviors showed that students displayed ‘modesty’. From the Young Market Monitor activity, students made calculated decisions appropriate to the given budget when purchasing various kinds of products, behavior that followed the ‘reasonableness’ and ‘having good immunity’ principles of sufficiency economy philosophy. From the Heart of the Immunity activity, students had the opportunity to make a household account which displayed the expenses, income, and savings. Furthermore, students had the opportunity to study at a sufficiency economy philosophy learning center. Students showed enthusiasm and interest in the learning center’s various facilities and also showed the characteristics of being sufficient in their daily routine. 2) Following the implementation of the curriculum, the average post-implementation score was 137.73 which was statistically significantly higher than the pre-implementation average of 129.37 (p ≤ 0.05) 4. The assessment and evaluation of the curriculum showed that students' opinions of the learning activities after the course implementation were at the highest level (X̄= 4.70, S.D. = 0.39).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีวิธีดำเนินการวิจัย ตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นตอนที่ 2 สร้างและตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้และศึกษาผลการใช้หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา การศึกษา 2564 จำนวน 30 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากนักเรียนที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยมีเครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงและแนวทางการพัฒนา 2) หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3) แบบวัดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง  3 ฉบับ ได้แก่ แบบวัดความพอประมาณ แบบวัดความมีเหตุผลและแบบวัดการมีภูมิคุ้มกันที่ดี การวิเคราะห์ข้อมูลโดย หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ละการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1. คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากการสัมภาษณ์นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงอยู่ในระดับน้อย และมีความต้องการที่ได้รับการส่งเสริมคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ 1) ความพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี และมีแนวทางในการพัฒนาเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง โดยการจัดทำเป็นหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงที่เน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก มีการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยผสานแนวคิดคุณลักษณศึกษาของลิคโคนา (Lickona, 1992) ที่มีองค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะที่ดีเชื่อมประสาน ปฎิสัมพันธ์กันในด้านการรู้คิดเชิงจริยธรรม ความสำนึกเชิงจริยธรรมและการปฏิบัติการเชิงจริยธรรม ด้วยการเตรียมสร้างประสบการณ์รับรู้ เรียนรู้สิ่งใหม่ผสานกับความรู้เดิมสะท้อนความคิดเชื่อมโยงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสร้างความรู้และประยุต์ใช้และกำหนดคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนและฝึกฝนอย่างต่อเนื่องจนเกิดกลายเป็นคุณลักษณะที่คงทนในการดำเนินชีวิต 2. หลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น มีองค์ประกอบของหลักสูตร 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของหลักสูตร 2) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) โครงสร้างกิจกรรมและประสบการณ์ 4) แนวการจัดกิจกรรม 5) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6) แนวทางการวัดและประเมินผล จากการประเมินหลักสูตรที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการทดลองนำร่องพบว่า มีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ 3. ผลการทดลองใช้พบว่า 1) คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียนที่ผ่านการเรียนด้วยหลักสูตรหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในภาพรวมมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงอยู่ในระดับมาก (X̄ = 70.51, S.D. = 5.92) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีระดับคุณลักษณะมาก (X̄ = 74.12, S.D. = 7.64) รองลงมาคือ ความมีเหตุผล มีระดับคุณลักษณะมาก (X̄ = 75.55, S.D. = 6.69) และความพอประมาณมีระดับคุณลักษณะปานกลาง (X̄ = 66.41, S.D. = 3.45) ตามลำดับ และผลการสังเกตพฤติกรรมพบว่า นักเรียนมีการแสดงออกถึงพฤติกรรมของการมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงด้านความพอประมาณ มีวิธีการคิดตัดสินใจเลือกสินค้าอุปโภคและบริโภคจากการร่วมกิจกรรมนักสำรวจตลาดรุ่นเยาว์สามารถประมาณรายได้กับราคาสินค้าแบบพอดี พอเพียงความความสามารถโดยนำหลักความมีเหตุผลมาประกอบการตัดสินใจอย่างรอบคอบคำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในสถานการณ์ชีวิตจริงและสอดคล้องกับการมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการมีภูมิคุ้มกันที่ดี ซึ่งจากการร่วมกิจกรรมเจาะใจภูมิคุ้มกันนักเรียนได้ลงมือฝึกทำบัญชีครัวเรือนแสดงรายรับรายจ่ายบัญชีการออมทรัพย์ของตนนอกจากนี้นักเรียนยังได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายในศูนย์การเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความกระตือรือร้นสนใจใฝ่เรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่จัดไว้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแต่ละฐานการเรียนรู้และนักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิตประจำวันได้ 2) คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 129.37 คะแนน และ 137.73 คะแนน ตามลำดับและเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า นักเรียน มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง หลังเรียนด้วยหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  4. การประเมินผลหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อกิจกรรมการเรียนรู้หลังการทดลองใช้หลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด (X̄ = 4.70, S.D. = 0.39)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการพัฒนาหลักสูตรth
dc.subjectคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงth
dc.subjectปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectCurriculum Developmenten
dc.subjectEconomical Life Charactersen
dc.subjectSufficiency Economy Philosophyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth
dc.titleThe Curriculum Development to Enhance Economical Life Characters on the Sufficiency Economy Philosophy for Lower-secondary Studentsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59031098.pdf5.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.