Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWANASNAN CHURATen
dc.contributorวนัสนันท์ ชูรัตน์th
dc.contributor.advisorSkonchai Chanunanen
dc.contributor.advisorสกนธ์ชัย ชะนูนันท์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-12-29T07:16:18Z-
dc.date.available2021-12-29T07:16:18Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4440-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to investigate ways to implement the approaches to learning management using Creative problem solving models with the use of infographics to enhance 11th graders’ creative problem solving skills on Acids – Bases and 2) to examine 11th graders’ creative problem solving skills before and after using the developed reative problem solving models with the use of infographics on Acids - Bases, 2nd Semester, Academic Year 2020 on 27 participants.  Aclassroom action research was employed for the study.  The research tools were 1) the developed learning management plans based on creative problem solving model with the use of infographics, 2) a learning management reflection, and 3) a creative problem-solving skill test.  Data collection was conducted according to four cycles of the action research. For data analysis, a content analysis technique was employed for qualitative data while basic statistics such as mean and S.D. were used and T-test dependent was also used. The results showed that the approach in arranging learning management using creative problem solving models combined with the infographics during the activity must stimulate students' interest using video clips. It must use questions to encourage students to come up with diverse and innovative solutions. It also must emphasize on writing solutions that are comprehensive and relevant to the situation. It should emphasize on how to create an infographic that represents a solution. The arrangement must be done by collecting data, analyzing, compiling, processing and emphasizing communication using symbolic images instead of character description. It also must be compared with the evaluation criteria. It must use the stimulating questions to explain the differences and strengths of each method. The study demonstrated that the method should be acceptable and practical and the study also found that the creative problem - solving skills after the study using creative problem solving models were in combination with the infographics and were significantly higher than before the study at the 0.05 level of confidence.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิกในการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง กรด-เบส 2) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง กรด-เบส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิก 2) แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ 3) แบบวัดทักษะแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์การวิจัยนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action research) ซึ่งทำการเก็บข้อมูลตามวงจรการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 วงจร วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณวิเคราะห์โดยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test dependent ผลวิจัยพบว่า แนวทางการจัดแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิกนั้นในระหว่างกิจกรรมจะต้องกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยใช้คลิปวิดีโอ ใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดหาวิธีการแก้ปัญหาได้หลากหลายและแปลกใหม่เน้นย้ำให้เขียนวิธีการแก้ปัญหาออกมาได้ครอบคลุมและสอดคล้องกับสถานการณ์ เน้นย้ำวิธีการสร้างอินโฟกราฟิกที่แสดงถึงวิธีการแก้ปัญหา โดยการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ เรียบเรียง ประมวลผลเน้นการสื่อสารด้วยการใช้ภาพสัญลักษณ์แทนการอธิบายด้วยตัวอักษร และนำมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมิน รวมทั้งใช้คำถามกระตุ้นให้อธิบายความแตกต่างและจุดเด่นของแต่ละวิธีแสดงให้เห็นว่าวิธีการนั้นควรเป็นที่ยอมรับและนำไปใช้ได้จริง และผลการศึกษาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิกพบว่ามีการพัฒนาที่ดีขึ้นตามลำดับและหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectรูปแบบการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectอินโฟกราฟิกth
dc.subjectกรด-เบสth
dc.subjectCreative problem - solving skillsen
dc.subjectCreative problem solving modelsen
dc.subjectInfographicsen
dc.subjectAcids - Basesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์โดยใช้รูปแบบการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับอินโฟกราฟิก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง กรด-เบสth
dc.titleDeveloping 11th graders' creative problem-solving skills using creative problem solving models with infographics on the topic of acids - bases.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62061535.pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.