Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4075
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SOPEE SAMKHAM | en |
dc.contributor | โศภี เสมคำ | th |
dc.contributor.advisor | Pudtan Phanthunane | en |
dc.contributor.advisor | พุดตาน พันธุเณร | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Business,Economics and Communications | en |
dc.date.accessioned | 2021-11-18T01:38:26Z | - |
dc.date.available | 2021-11-18T01:38:26Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4075 | - |
dc.description | Master of Economics (M.Econ.) | en |
dc.description | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study was conducted to the workforce demand and planning for Health Promoting Hospitals in Suphanburi Province (A.D. 2029) in order for the readiness preparation of the medical workforce planning in the primary care level. This research applied the Health Demand Method using the secondary data combined with the primary data. The purposive sampling method was used and the sample group consisted of 37 people who actually work in 6 Health Promoting Hospitals interview form and operational observation form were used as tools for data collection. The findings revealed in the year 2029, there is a demand for doctors, nurses, public heath technical officers, public health officers, thai traditional medicines and dental assistant at the rate of 7 FTE, 294 FTE 255 FTE, 184 FTE, 107 FTE and 23 FTE respectively. When comparing the number of medical workforce demand and supply, it was found that public health officers, dental assistant and public heath technical officers supply trend exceeds demand and Thai Traditional Medicines, Pharmacist, Doctors and Nurses have a tendency lacking the manpower. Especially Thai traditional medicines the most deprived of 81 people. Also found that if executed in Primary Care Cluster will increase cause Medical and Nurse needs. When conducting scenario analysis to reveal primary care that are appropriate to the context in Suphanburi. It was found a decrease in medical and nurse needs. However, the results show the greatest demand for Public Heath Technical Officers, followed by nurses and Public Health Officers. As for other professions, there is constant demand for manpower. This study indicate an importance of health workforce planning for primary health care. The results would be beneficial for Suphanburi Public Health Office and also the further studies in other provinces. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์ความต้องการกำลังคนและวางแผนกำลังคนสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดสุพรรณบุรี (พ.ศ. 2572) เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของการวางแผนกำลังคนทางสุขภาพในระดับบริการปฐมภูมิต่อไป การวิจัยครั้งนี้ประยุกต์ใช้วิธีการคาดการณ์กำลังคน health demand method โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิประกอบกับข้อมูลปฐมภูมิในการวิเคราะห์ ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างรวมจำนวนทั้งสิ้น 37 คน เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน รพ.สต. จำนวน 6 แห่ง โดยใช้แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกสังเกตการณ์ปฏิบัติงานเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการศึกษา พบว่า ปี 2572 มีความต้องการแพทย์ จำนวน 7 FTE พยาบาล 294 FTE นักวิชาการสาธารณสุข 255 FTE เจ้าพนักงานสาธารณสุข 184 FTE แพทย์แผนไทย 82 FTE และเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 23 FTE เมื่อเทียบกับการประมาณการอุปทานกำลังคน ปี 2572 พบว่า เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข และนักวิชาการสาธารณสุขมีแนวโน้มที่จะมีจำนวนอุปทานเกินความต้องการ และวิชาชีพแพทย์แผนไทย เภสัชกร แพทย์และพยาบาลมีแนวโน้มขาดแคลนกำลังคน โดยเฉพาะแพทย์แผนไทยขาดแคลนมากที่สุด จำนวน 81 คน อีกทั้งยังพบว่า หากมีการดำเนินงานรูปแบบคลินิกหมอครอบครัวจะทำให้มีความต้องการแพทย์ และเภสัชกรเพิ่มขึ้น และเมื่อวิเคราะห์ฉากทัศน์การดำเนินงานบริการปฐมภูมิที่มีความเหมาะสมกับบริบทในจังหวัดสุพรรณบุรี จะส่งผลให้มีความต้องการแพทย์และเภสัชกรลดลง ในขณะที่มีความต้องการนักวิชาการสาธารณสุขเพิ่มขึ้นมากที่สุด รองลงมาคือ พยาบาล และเจ้าพนักงานสาธารณสุข ส่วนวิชาชีพอื่นๆมีความต้องการกำลังคนคงเดิม ผลการศึกษาบ่งชี้ถึงความสำคัญของการวางแผนกำลังคนทางสุขภาพในระดับปฐมภูมิ และผลการศึกษาอาจจะเป็นประโยชน์ต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาที่จังหวัดอื่นๆต่อไป | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กำลังคนทางสุขภาพ | th |
dc.subject | ระบบบริการปฐมภูมิ | th |
dc.subject | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | th |
dc.subject | Human Resources for Health | en |
dc.subject | Primary Health Care | en |
dc.subject | Health Promoting Hospital | en |
dc.subject.classification | Economics | en |
dc.subject.classification | Economics | en |
dc.title | การวางแผนกำลังคนทางสุขภาพสำหรับการให้บริการระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี | en |
dc.title | Human resources for health planning in primary health care : Case study Suphanburi province | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60062794.pdf | 2.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.