Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4066
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NATTIDA KANLAYAPRASIT | en |
dc.contributor | ณัฐธิดา กัลยาประสิทธิ์ | th |
dc.contributor.advisor | Thitiya Bongkotphet | en |
dc.contributor.advisor | ธิติยา บงกชเพชร | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-11-16T03:47:56Z | - |
dc.date.available | 2021-11-16T03:47:56Z | - |
dc.date.issued | 2564 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4066 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aimed to study the results of computational thinking development using problem-based learning management based on STEM education concept on momentum and collisions for mathayomsuksa 4 students, 2nd semester of the academic year 2020, which was consisted of 40 participants. The research instruments were 1) problem-based learning management based on the STEM study concept lesson plan 2) computational thinking measurement model 3) learning activity work sheet. The researcher performed the qualitative data analysis through the content and quantitative analysis using the percentage scores. The results showed that the data before the study occurred, during the study and after the study using problem-based learning management based on the STEM concept. There was a trend of continuous improvement in computational thinking and the overall development of students' computational thinking was at a good level. When the results of the development of computational thinking in each component were studied, it was found that the design of the algorithm was least developed one while the abstract thinking was the most developed one. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อศึกษาผลการพัฒนาการคิดเชิงคำนวณโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องโมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา 2) แบบวัดการคิดเชิงคำนวณ 3) ใบกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและเชิงปริมาณโดยการใช้คะแนนร้อยละ ผลการวิจัยพบว่าข้อมูลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา มีแนวโน้มของระดับการพัฒนาการคิดเชิงคำนวณดีขึ้นอย่างต่อเนื่องและการพัฒนาการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อผลการพัฒนาการคิดเชิงคำนวณในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า การออกแบบขั้นตอนวิธีมีการพัฒนาน้อยที่สุด และการคิดเชิงนามธรรมมีการพัฒนามากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | สะเต็มศึกษา | th |
dc.subject | การคิดเชิงคำนวณ | th |
dc.subject | Problem Based Learning on STEM Education | en |
dc.subject | STEM Education | en |
dc.subject | Computational Thinking | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | การพัฒนาการคิดเชิงคำนวณโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานตามแนวคิดสะเต็มศึกษา เรื่องโมเมนตัมและการชน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.title | Developing computational thinking using STEM - problem based learning in momentum and collisions topic for 10th grade students. | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62060545.pdf | 3.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.