Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4049
Title: | แบบสมรรถนะทางสังคมของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส SOCIAL COMPETENCE PATTERN STUDENTS OF OPPORTUNITY EXPANSION SCHOOL |
Authors: | PIYACHAT KHONCHOM ปิยฉัตร คนชม Varinthorn Boonying วรินทร บุญยิ่ง Naresuan University. Faculty of Education |
Keywords: | สมรรถนะทางสังคม นักเรียน โรงเรียนขยายโอกาส Social Competence Student Opportunity Expansion School |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to study the current condition of activities to enhance social competence of students in the opportunity expansion school 2) to create a pattern of social competence of students in the opportunity expansion school 3) to assess the social competency pattern of students in the opportunity expansion school. The research methodology was qualitative, based on documentary analysis, focus group discussions and observations in areas. Data were examined by using a triangular technique and analyzed by content analysis which presented data by using descriptive analysis techniques.
The findings revealed that: twelve issues of social competency which divided into three levels. The individual level consisting of competence, 1) health literacy, 2) emotional and stress management, 3) self-directed learning, and 4) critical thinking. and problem solving 5) career skills enhancement spending and saving 6) knowledge of information media and creatively. The interpersonal level consisted of competence 1) conducting oneself as a member of the family 2) communication and relationships with peers. The community/social level consisted of competence 1) leadership and responsibility 2) fostering creative teamwork 3) coexistence with others flexibility and adaptability; and 4) good citizenship. The social competency patterns of students in the opportunity expansion school consisted of five components: 1) competency name, 2) competency definition, 3) competency component, 4) competency t activities, and 5) assessment of competency activities which were measured into two dimensions: 1) probability and; 2) practice appropriateness with the highest level การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางสังคมของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส 2) เพื่อสร้างแบบสมรรถนะทางสังคมของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส 3) เพื่อประเมินแบบสมรรถนะทางสังคมของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เอกสาร การสนทนากลุ่มย่อย และการสังเกตในพื้นที่ ตรวจสอบข้อมูลโดยวิธีแบบสามเส้า วิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอข้อมูลโดยใช้เทคนิคการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษา พบว่า มี 12 ประเด็นสมรรถนะทางสังคม แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับตนเอง ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) ความรู้เท่าทันด้านสุขภาพ 2) การจัดการอารมณ์และความเครียด 3) การเรียนรู้แบบนำตนเอง 4) การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและแก้ไขปัญหา 5) การเสริมทักษะอาชีพ การใช้จ่ายและการออม 6) การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและใช้งานอย่างสร้างสรรค์ ระดับระหว่างบุคคลประกอบด้วยสมรรถนะ 1) การปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกของครอบครัว 2) การสื่อสารและความสัมพันธ์กับเพื่อน และระดับชุมชน/สังคม ประกอบด้วยสมรรถนะ 1) ภาวะผู้นำและความรับผิดชอบ 2) การส่งเสริมการทำงานเป็นทีมอย่างสร้างสรรค์ 3) การอยู่ร่วมกับผู้อื่นมีความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัวตามสถานการณ์ และ 4) การเป็นพลเมืองที่ดี แบบสมรรถนะทางสังคมของนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ชื่อสมรรถนะ 2) นิยามสมรรถนะ 3) องค์ประกอบสมรรถนะ 4) กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะ และ 5) การประเมินผลแบบ มี 2 มิติ คือ ประเมินความเป็นไปได้และความเหมาะสมในการนำไปใช้ อยู่ในระดับมากที่สุด |
Description: | Doctor of Education (Ed.D.) การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4049 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58031822.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.