Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3881
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NIPATSARA BUREEPIA | en |
dc.contributor | นิภัสรา บุรีเพีย | th |
dc.contributor.advisor | Visit Janma | en |
dc.contributor.advisor | วิสิฐ จันมา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Architecture, Art and Design | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-29T03:50:59Z | - |
dc.date.available | 2021-09-29T03:50:59Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3881 | - |
dc.description | Master of Fine and Applied Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ศป.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study and analyze the armatures used for stop-motion animation characters, 2) to design and create armatures and use them for stop-motion animation characters, and 3) to evaluate the movement of the armatures and create stop-motion animation. There were three research instruments as follows: 1) prototype armatures, 2) a video showing the application of protoype armatures in stop motion animation according to the 12 principles of animation, and 3) questionaires to evaluate the performance and quality of armatures by animation experts. The results showed that, overall, the developed armature had practical potential at a high level (x̄= 4.29, S.D. = 0.76). When looking at the features of the armature, it was found that the disigned joints and sockets were capable of animating according to the 12 principles of animation which received the highest level of assessment (x̄= 4.57, S.D. = 0.53). It was followed by that the armature could be freely animated for posture, there was realistic movements, and the number, strength, and type of joints were suitable for movement, respectively, with the same mean (x̄= 4.29). According to the research results, it can be concluded that the design and development of armature have effeciency and good quality. The outstanding point is that the designed joints can make the characters have realistic movements. The suggestions from experts are that the armature should be adapted to the movement of animals too. Moreover, it shoud be improved for the production of industry system so that It will be useful for anyone who is interested in stop-motion animation to begin practicing character animating at a low cost. As a result, it will promote the animation business in Thailand as well. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและวิเคราะห์หุ่นโครงสร้างที่ใช้สำหรับตัวละครแอนิเมชันสตอปโมชัน 2) ออกแบบและสร้างสรรค์หุ่นโครงสร้างและนำไปใช้สำหรับตัวละครแอนิเมชันสตอปโมชัน 3) ทดสอบการเคลื่อนไหวของหุ่นโครงสร้าง และสร้างสรรค์ผลงานแอนิเมชันสตอปโมชัน โดยวิธีการดำเนินงานวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือสำหรับการวิจัยจำนวน 3 ชิ้น ดังนี้ 1) ต้นแบบหุ่นโครงสร้าง 2) วีดีโอแสดงการนำหุ่นโครงสร้างไปใช้ในงานสตอปโมชันแอนิเมชันตามกฎแอนิเมชัน 12 ข้อ 3) แบบประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพของหุ่นโครงสร้างและการนำไปใช้โดยผู้เชี่ยวชาญด้านแอนิเมชัน ผลการวิจัยพบว่า โดยรวมหุ่นโครงสร้างที่พัฒนาขึ้นมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้งานจริงในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.29 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.76 และหากพิจารณาคุณสมบัติของหุ่นโครงสร้างเป็นรายด้านจะพบว่า การออกแบบข้อต่อของหุ่นโครงสร้างนี้สามารถเคลื่อนไหวได้ตามกฎแอนิเมชัน 12 ข้อ ในระดับมากที่สุด ที่ค่าเฉลี่ย 4.57 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.53, และหุ่นโครงสร้างสามารถนำมาออกแบบท่าทางได้อย่างอิสระ มีการเคลื่อนไหวที่ดูสมจริง, จำนวนของข้อต่อ, ความแข็งแรงของข้อต่อ, และลักษณะของข้อต่อเหมาะสมกับการเคลื่อนไหว เป็นลำดับต่อมา ที่ค่าเฉลี่ย 4.29 เท่ากัน จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การออกแบบและพัฒนาหุ่นโครงสร้างเพื่อใช้ในการสร้างสรรค์ตัวละครสตอปโมชันแอนิเมชันมีประสิทธิภาพและคุณภาพ มีจุดเด่นที่การออกแบบข้อต่อ ทำให้ตัวละครมีการเคลื่อนไหวที่ดูสมจริง และมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้เชี่ยวชาญ คือ ควรมีการพัฒนารูปแบบให้สามารถดัดแปลงเป็นการเคลื่อนไหวของสัตว์สี่เท้าได้ และปรับปรุงให้ผลิตในระบบอุตสาหกรรมได้ จะเป็นประโยชน์ให้ผู้สนใจแอนิเมชันแบบสตอปโมชัน ได้เริ่มฝึกหัดการเคลื่อนไหวตัวละครในราคาประหยัด ทั้งยังเป็นการส่งเสริมธุรกิจแอนิเมชันในประเทศไทยอีกด้วย | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | หุ่นโครงสร้าง | th |
dc.subject | สตอปโมชัน | th |
dc.subject | แอนิเมชัน | th |
dc.subject | Armature | en |
dc.subject | Stop Motion | en |
dc.subject | Animation | en |
dc.subject.classification | Computer Science | en |
dc.title | การออกแบบและพัฒนาหุ่นโครงสร้างเพื่อใช้ในการสร้างสรรค์ตัวละครสตอปโมชันแอนิเมชัน | th |
dc.title | The Design and Development of Armature for Creating Stop Motion Animation | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะสถาปัตยกรรมศาสต์ ศิลปะและการออกแบบ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61061307.pdf | 10.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.