Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3712
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPHAKIT KRUEAKLAT | en |
dc.contributor | ศุภกิจ เครือกลัด | th |
dc.contributor.advisor | Chommanard Wannapornsiri | en |
dc.contributor.advisor | ชมนาด วรรณพรศิริ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Nursing | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-17T02:58:26Z | - |
dc.date.available | 2021-09-17T02:58:26Z | - |
dc.date.issued | 2564 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3712 | - |
dc.description | Master of Nursing Science (M.N.S.) | en |
dc.description | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this quasi-experimental research was to study the effects of social support before cardiac catheterization program on anxiety and readiness among patients with coronary artery disease. The sample were patients with coronary heart disease undergoing cardiac catheterization who were admitted to the Cardiology Ward at Naresuan University Hospital, Phitsanulok, Thailand. A total of 50 patients were recruited, 25 patients were assigned into the control group, who received routine nursing care, and 25 patients were assigned into the experimental group, who received the social support before cardiac catheterization program. The research instruments were the social support before cardiac catheterization program for patients with coronary heart disease based on the social support theory (House, 1981), anxiety assessment form for cardiac catheterization and readiness assessment form for cardiac catheterization. These were content validated by three experts. The content validity index of the anxiety assessment form and the readiness assessment form was 1.00 and 0.96 respectively. The reliability of the anxiety assessment form and the readiness assessment form was 0.96 and 0.82 respectively. Data were analyzed using frequency, percentage, chi-square test, fisher’s exact test, paired t-test, and independent t-test. The findings showed that the patients’ anxiety in the intervention group after receiving the Social Support Before Cardiac Catheterization Program was significantly lesser than before receiving the program (p<.001) and less than those in the control group (p<.001) ;2) The patients’ readiness in the intervention group after receiving the Social Support Before Cardiac Catheterization Program was significantly higher than before receiving the program (p<.001) and higher than those in the control group (p<.001). The research showed that the Social Support Before Cardiac Catheterization Program can be applied in providing care of patients with coronary heart disease undergoing cardiac catheterization to decrease their anxiety and to promote their readiness for cardiac catheterization. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ ต่อความวิตกกังวลและความพร้อมของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการตรวจสวนหัวใจ เข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก จำนวนทั้งสิ้น 50 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ 25 ราย และกลุ่มทดลอง คือผู้ป่วยที่ได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ 25 ราย เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีการสนับสนุนทางสังคมของเฮาส์ (House, 1981) แบบประเมินความวิตกกังวลในการตรวจสวนหัวใจ และแบบประเมินความพร้อมในการตรวจสวนหัวใจ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ได้ค่าความตรงตามเนื้อของแบบประเมิน เท่ากับ 1.00 และ 0.96 ตามลำดับ และค่าความเที่ยงของแบบประเมิน เท่ากับ 0.96 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติหาค่าความถี่ ร้อยละ สถิติไคสแควร์ สถิติฟีชเชอร์ สถิติการทดสอบค่าทีคู่ และสถิติการทดสอบค่าทีอิสระ ผลการศึกษา พบว่า 1) ค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลในการตรวจสวนหัวใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ หลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ และต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการตรวจสวนหัวใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ หลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ และสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้โปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับการตรวจสวนหัวใจ เพื่อลดความวิตกกังวล และส่งเสริมทำให้ผู้ป่วยมีความพร้อมในการตรวจสวนหัวใจได้ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | th |
dc.subject | การตรวจสวนหัวใจ | th |
dc.subject | ความวิตกกังวล | th |
dc.subject | ความพร้อม | th |
dc.subject | Social Support | en |
dc.subject | Cardiac Catheterization | en |
dc.subject | Anxiety | en |
dc.subject | Readiness | en |
dc.subject.classification | Nursing | en |
dc.subject.classification | Nursing | en |
dc.subject.classification | Nursing | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมก่อนการตรวจสวนหัวใจต่อความวิตกกังวลและความพร้อมของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ | th |
dc.title | EFFECTS OF SOCIAL SUPPORT BEFORE CARDIAC CATHETERIZATION PROGRAM ON ANXIETY AND READINESS AMOMG PATIENTS WITH CORONARY ARTERY DISEASE | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะพยาบาลศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61062762.pdf | 7.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.