Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3379
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHATWILAI SURINCHOMPOOen
dc.contributorฉัตรวิไล สุรินทร์ชมพูth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-07T03:26:21Z-
dc.date.available2021-09-07T03:26:21Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3379-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe objective of this research was to develop a model of early childhood curriculum management with learning experience in order to develop holistic student in school. The research procedure followed 3 steps; 1) studying the components and guidelines of the model of early childhood curriculum management with learning experience in order to develop holistic student in school using analysis, the documents and interviewing 12 experts and 3 school administrators of which with best practice, by purposive sampling. The data was analyzed by content analysis. 2) establishing and verifying the model by 9 experts and data analyzed by content analysis. 3) evaluating the model, the sample consisted of 100 school administrators and through multi-stage sampling. The data was analyzed by percentage, mean, and standard deviation. The study revealed that the model of early childhood curriculum management with learning experience in order to develop holistic student in school consisted of 4 components; 1) curriculum management factors 2) curriculum management process 3) learning experience provision process follow multiple intelligences theory and 4) the effectiveness of holistic student development. The propriety and feasibility of a model were at a high level, and the utility of a model was at a highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม วิธีดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การศึกษาองค์ประกอบและแนวการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม จากการวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน และการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี จำนวน 3 โรงเรียน โดยการเลือกแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม ตรวจสอบรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา 3) การประเมินรูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 100 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ปัจจัยการบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2 กระบวนการบริหารหลักสูตร องค์ประกอบที่ 3 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยบูรณาการแนวคิดพหุปัญญาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม และองค์ประกอบที่ 4 ประสิทธิผลการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวม และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการบริหารหลักสูตรth
dc.subjectปฐมวัยth
dc.subjectพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวมth
dc.subjectCurriculum Managementen
dc.subjectEarly Childhooden
dc.subjectHolistic Student Developmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการบริหารหลักสูตรระดับปฐมวัยที่จัดประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเป็นองค์รวมth
dc.titleA MODEL OF CHILDHOOD CURRICULUM MANAGEMENT FOR LEARNING EXPERIENCE PROVISION IN SCHOOL TO DEVELOP THE HOLISTIC STUDENTen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61030310.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.