Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3378
Title: แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของการค้าปลีกยุคใหม่
EDUCATION MANAGEMENT GUIDELINES FOR ARTIFICIAL INTELLIGENCE MANPOWER DEVELOPMENT IN NEW RETAIL
Authors: SOMSRI PUTTHAMWONG
สมศรี พุทธธรรมวงศ์
Panuwat Pakdeewong
ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์
Naresuan University. Faculty of Education
Keywords: การจัดการศึกษา
คุณลักษณะกำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์
การพัฒนากำลังคน
ปัญญาประดิษฐ์กับการค้าปลีก
Education Management
AI Manpower Knowledge and Skills
Manpower Development
AI and Retail
Issue Date: 2563
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objectives of this research were 1) To study the implications of using AI in New Retail 2) To study AI workforce characteristics which consistent with New Retail requirement and 3) To study Educational Management Guidelines for AI Manpower Development in New Retail.  This research used quality research method. The data collection were from related documents and 21-people expert interview by documentary records and interview records. After that performed data analysis by content analyzing and interpreting. Then prepared the draft and conducted the focus group interview of 16 experts for the draft document evaluation by  the evaluation form and interview form. Then performed data analysis by content analyzing and interpreting.  After that improveก the “Education Management Guideline for AI Manpower Development in New Retail”. The research results were found that 1) the positive implications were following; to Improve operational efficiency, to improved customer and rmployee experience, Increased revenue growth, to reduce costs, to expand business capabilities, to develop products and services. The implications, need to be prepared were following; human resource, organizational culture, organizational processes and software engineering, information, technology, and Investments. 2) the AI workforce hard skills were: retail knowledge and skills, mathematics and statistics, software engineering and programming, data management, AI and machine learning. The AI workforce soft skills were following; communication, collaboration and teamwork, creativity and innovation, critical thinking and complex problem solving, lifelong learning, persistence, resilience, accountability, integrity and ethics. 3) educational management guidelines and support factors were following; curriculums and contents, teaching and learning, teachers/instructors,  learners, media and learning resources, assessment and evaluation, leadership and involved party partnerships.
การวิจัยนี้เพื่อ 1) ศึกษาผลกระทบการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการค้าปลีกยุคใหม่ 2) ศึกษาคุณลักษณะกำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ที่สอดคล้องความต้องการของการค้าปลีกยุคใหม่ 3) ศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ฯ โดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวมรวมข้อมูลเอกสารและสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 21 คน ใช้แบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์เนื้อหา จัดทำร่างฯ จัดสนทนากลุ่มประเมินร่างฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 16 คน ใช้แบบประเมินร่างและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล ตีความ ปรับปรุงแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ฯ ผลการวิจัย 1) ผลกระทบเชิงบวก ได้แก่ เพิ่มประสิทธิภาพ ปรับปรุงประสบการณ์ลูกค้าและพนักงาน เพิ่มรายได้ ลดต้นทุน ขยายขีดความสามารถธุรกิจ พัฒนาสินค้าและบริการ ผลกระทบที่ต้องเตรียมความพร้อม ได้แก่ ด้าน: บุคลากร วัฒนธรรมองค์กร กระบวนการทำงานและวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ข้อมูล เทคโนโลยี และเงินทุน  2) คุณลักษณะกำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ คือ มีความรู้ ทักษะด้าน: การค้าปลีกยุคใหม่  คณิตศาสตร์และสถิติ วิศวกรรมซอฟต์แวร์และการเขียนโปรแกรม การจัดการข้อมูล ปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง ส่วนทักษะชีวิตและสังคม ได้แก่ การสื่อสาร การทำงานร่วมกับผู้อื่นและทำงานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม  ความคิดอย่างมีวิจารณญาณและแก้ปัญหาซับซ้อน การเรียนรู้ตลอดชีวิต ความมุ่งมั่น ความยืดหยุ่น ความมีภาระรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์และจริยธรรม  3) แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนากำลังคนด้านปัญญาประดิษฐ์ และปัจจัยเอื้อต่อความสำเร็จรวม 8 ด้าน ดังนี้ หลักสูตรและเนื้อหาสาระ การเรียนรู้ ครู/อาจารย์ผู้สอน ผู้เรียน  สื่อ อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ภาวะผู้นำของผู้นำสถาบันการศึกษา และความร่วมมือของทุกภาคส่วน
Description: Doctor of Education (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3378
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60032070.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.