Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3377
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPRANEE MUENYA | en |
dc.contributor | สุปราณี หมื่นยา | th |
dc.contributor.advisor | Pakorn Prachanban | en |
dc.contributor.advisor | ปกรณ์ ประจันบาน | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-07T03:26:21Z | - |
dc.date.available | 2021-09-07T03:26:21Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3377 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | The main purpose of this research is 1) to develop the humanize health care identity scale and norm of nursing students, and 2) to study growth of humanize health care identity and to determine the effect of hypothesized covariates on growth of humanize health care identity of nursing students. The sample of the study consisted was 1,500 nursing students in nursing colleges under the jurisdiction of Institute of Praboromarajchanok, Ministry of Public Health who were selected by using multistage random sampling. The research instrument was the questionnaire is factors affecting the growth of humanize health care identity of nursing students. The data were analyzed by using median, interquartile, range, mean, standard deviation, coefficient of variation, skewness, kurtosis, percentile, T-score, correlation coefficient, exploratory factor analysis, confirmatory factor analysis and the latent growth curve model, SPSS for Windows, Microsoft Office Excel, and M-plus were employed for data analysis. The result revealed that: 1. The humanized health care identify of nursing students composed of three main component and seven sub-components and seventy-five indicators includes; 1) the main components in service mind had 3 sub-components (27 indicators) namely Quality of Holistic Nursing (6 indicators), Caring (6 indicators) and Code of Ethics in Nursing (15 indicators) 2) the main components in Analytical thinking had 2 sub-components (17 indicators) namely Analytical Thinking Skills (10 indicators) and Analytical Thinking Attributes (7 indicators) 3) the main components in Participation had 2 sub-components (31 indicators) namely Self-Care Promotion (20 indicators) and Patient Advocacy (11 indicators). 2. The humanized health care identify scale of nursing students is a five level scale with 75 items. The score 5 points per item and full score are 375. Regarding the quality of the humanized health care identify scale was found that the questions had content validity and discrimination, Moreover, construct validity of all questions met the criteria. The reliability was 0.991. The humanized health care identify scale of nursing students correlated with empirical data and construct validity (Chi-Square = 1424.646, df = 1343, p-value = 0.0597 CFI = 0.999, RMSEA = 0.006, SRMR = 0.027) 3. The norms for assessing of The humanized health care identify of nursing students can be divided into 4 levels; humanized health care identify at a high level when score was over than 351 point, percentile rank over than 75.00, humanized health care identify at a fairly high level when score was between 320 and 350 points, percentile rank between 50.00 to 74.99, humanized health care identify at a fair level when score was between 300 and 319 points, percentile rank between 25.00 to 49.99 and humanized health care identify at a low level when score was lower than 299, percentile rank lower than 25.00 4. The growth of humanize health care identity of nursing students using the latent growth curve model was fitted with empirical data. The mean intercept and slope were 4.261 and 0.088, respectively, indicate that on average, nursing students had initial humanize health care identity status of 4.261 and steady increase in growth rate of 0.088 over time. 5. The substantial covariate factor effecting on growth of humanize health care identity of nursing students by repeated measurements 4 times were the attitude toward the nursing profession, relationship between students and peer. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแบบวัดและเกณฑ์ปกติของอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล และ 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการและวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก จำนวน 1,500 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ มัธยฐาน พิสัย ควอไทล์ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย ความเบ้ ความโด่ง เปอร์เซ็นต์ไทล์ คะแนนมาตรฐานทีแบบแจกแจงปกติ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง โดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows, โปรแกรม Microsoft Office Excel และโปรแกรม M plus ผลการวิจัย พบว่า 1. อัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบย่อย 75 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) องค์ประกอบหลักด้านจิตบริการ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบย่อย คือ องค์ประกอบย่อยที่ 1 ด้านคุณภาพการพยาบาลแบบองค์รวม (Quality of Holistic Nursing) จำนวน 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบย่อยที่ 2 ด้านการดูแลอย่างเอื้ออาทร (Caring) จำนวน 6 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบย่อยที่ 3 ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล (Code of Ethics in Nursing) จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ รวมทั้งหมด 27 ตัวบ่งชี้ 2) องค์ประกอบหลักด้านการคิดเชิงวิเคราะห์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย คือ องค์ประกอบย่อยที่ 1 ด้านทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking Skills) จำนวน 10 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบย่อยที่ 2 ด้านคุณลักษณะนักคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking Attributes) จำนวน 7 ตัวบ่งชี้ รวมทั้งหมด 17 ตัวบ่งชี้ 3) องค์ประกอบหลักด้านการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย คือ องค์ประกอบย่อยที่ 1 ด้านการส่งเสริมการดูแลตนเอง (Self-Care Promotion) จำนวน 20 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบย่อยที่ 2 ด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย (Patient Advocacy) จำนวน 11 ตัวบ่งชี้ รวมทั้งหมด 31 ตัวบ่งชี้ 2. แบบวัดอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาลมีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 75 ข้อ ให้คะแนนข้อละ 5 คะแนน คะแนนเต็ม 375 คะแนน ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ พบว่า ข้อคำถามมีความตรงเชิงเนื้อหาทุกข้อ มีค่าอำนาจจำแนก ผ่านเกณฑ์ทุกข้อ และมีความเที่ยง เท่ากับ 0.991 แบบวัดอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และมีความตรงเชิงโครงสร้าง (Chi-Square = 1424.646, df = 1343, p-value = 0.0597 CFI = 0.999, RMSEA = 0.006 และ SRMR = 0.027) 3. เกณฑ์ปกติในการแบ่งระดับอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล จำแนกออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ อัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในระดับสูง มีคะแนนดิบตั้งแต่ 351 คะแนนขึ้นไป มีช่วงคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ 75.00 ขึ้นไป อัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในระดับค่อนข้างสูง มีคะแนนดิบตั้งแต่ 320-350 คะแนน มีช่วงคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ 50.00-74.99 อัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในระดับค่อนข้างสูง มีคะแนนดิบตั้งแต่ 300-319 คะแนน มีช่วงคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ 25.00-49.99 และอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในระดับต่ำ มีคะแนนดิบน้อยกว่า 299 คะแนน มีช่วงคะแนนเปอร์เซ็นต์ไทล์ น้อยกว่า 25.00 4. โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยค่าเฉลี่ย อัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาลเมื่อเริ่มต้น มีค่าเป็น 4.261 และมีค่าเฉลี่ยอัตราพัฒนาการในทางบวกหรือเพิ่มขึ้นตลอดช่วงเวลาการฝึกปฏิบัติทางการพยาบาลจากการวัดครั้งที่ 1 ถึงการวัดครั้งที่ 4 ด้วยอัตราพัฒนาการ 0.088 5. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล ในการวัดซ้ำจำนวน 4 ครั้ง คือ เจตคติต่อวิชาชีพพยาบาลและความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับเพื่อน | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ | th |
dc.subject | การบริการสุขภาพ | th |
dc.subject | หัวใจความเป็นมนุษย์ | th |
dc.subject | โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง | th |
dc.subject | Identity | en |
dc.subject | Healthcare | en |
dc.subject | Humanize | en |
dc.subject | The latent growth curve model | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดอัตลักษณ์และปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของอัตลักษณ์การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของนักศึกษาพยาบาล โดยใช้โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง | th |
dc.title | DEVELOPMENT OF THE IDENTITY TEST AND FACTORS AFFECTING THE GROWTH OF HUMANIZE HEALTH CARE IDENTITY OF NURSING STUDENTS USING THE LATENT GROWTH CURVE MODEL | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60031394.pdf | 4.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.