Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3004
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | JARAN KHANSIRI | en |
dc.contributor | จรัญ ขันศิริ | th |
dc.contributor.advisor | Aumporn Lincharoen | en |
dc.contributor.advisor | เอื้อมพร หลินเจริญ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-08-09T05:32:42Z | - |
dc.date.available | 2021-08-09T05:32:42Z | - |
dc.date.issued | 2564 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3004 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | The main purpose of this research aim to develop the executive function scale for nurse students with the specific purpose that including 1) to develop the executive function indicators and sub-indicators for nurse student 2) to develop and investigate the content validity, discrimination, reliability as well as construct validity of executive function scale for nurse students and 3) to develop the norms of executive function scale for nurse students. The sample of the study comprised 2,400 of nurse students from nursing college of the Praboromarajchanok Institute under the Ministry of Public Health by applying multi-stage sampling. The research instrument was the executive function scale. The data were analyzed by using median, interquartile range, mean, standard deviation, coefficient of variation, skewness, kurtosis, percentile, T-score, correlation coefficient, and confirmatory factor analysis. Data analysis done by Package Software. The study research found that : 1. There were 9 indicators and 16 sub-indicators for executive function for nurse students. Their appropriateness was between a high level and the highest level. 2. There were 43 item of executive function scale for nurse students. It was characterized as a situation test. The questions were in a situational manner in the teaching and learning context for nursing students. There were four behavioral options. The criteria for scoring set between 1 – 4 points. The investigate content validity found that the item content validity index set between 0.89 – 1.00 and the content validity for scale was 0.98. The discrimination found that item were discrimination by analyzing t-test that could distinguish the low group and the high group was significant at level .05 and when analyzing with corrected item – total correlation (CITC). The discrimination was greater than 0.2 number of 43 items. In the term of reliability, the internal consistency of reliability method was examined using cronbach's alpha coefficient, which was found to be 0.936. In terms of construct validity, it was found that the executive function scale for nurse students correlated with empirical data and had constructed validity (Chi-square = 24.892, df = 15, p-value = 0.0514, RMSEA = 0.033, CFI = 0.997 and SRMR = 0.013) 3. The norms for assessing of executive function scale for nurse students devided into 5 levels which were very high, with standard scores (T – score) greater thean 65 and raw scores set between 157 – 172, High levels set standard scores (T-score) between 55 – 64 and raw scores between 137 – 156, Intermediate set standard scores (T-score) between 45 – 54 and raw scores between 117 – 136, Low scores set standard scores (T-score) between 35 – 44 and raw scores between 97 – 116, and very low level set standard scores (T-score) from 34 below and raw scores between 0 – 96. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาแบบวัดและเกณฑ์ปกติความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ 1) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และ ตัวบ่งชี้ย่อยของความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล 2) เพื่อพัฒนาแบบวัดและตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา อำนาจจำแนก ความเที่ยง และความตรง เชิงโครงสร้างของแบบวัดความความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล และ 3) เพื่อพัฒนาเกณฑ์ปกติของแบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งสิ้น 2,400 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ มัธยฐาน พิสัยควอไทล์ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์การกระจาย ความเบ้ ความโด่ง เปอร์เซ็นต์ไทล์ คะแนนมาตรฐานทีปกติ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้และตัวบ่งชี้ย่อยความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล มีจำนวน 9 ตัวบ่งชี้ และ 16 ตัวบ่งชี้ย่อย มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด 2. แบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตน มีจำนวน 43 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบวัดเชิงสถานการณ์ในบริบทการเรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาล มีจำนวน 4 ตัวเลือกเชิงพฤติกรรม โดยมีเกณฑ์ในการให้คะแนนเป็นแบบ 1 – 4 คะแนน การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตน พบว่าค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหารายข้อ มีค่าอยู่ระหว่าง 0.89 - 1.00 และค่าดัชนีตรงเชิงเนื้อหาทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 ด้านค่าอำนาจจำแนก พบว่าข้อคำถามมีอำนาจจำแนกด้วยการวิเคราะห์สถิติทดสอบที สามารถจำแนกกลุ่มต่ำและกลุ่มสูงได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี Corrected Item - Total Correlation (CITC) มีค่าอำนาจจำแนกมากกว่า 0.2 จำนวน 43 ข้อ ด้านความเที่ยงตรวจสอบด้วยวิธีความสอดคล้องภายใน โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบัค พบว่ามีความเที่ยงเท่ากับ 0.936 ด้านความตรงเชิงโครงสร้างพบว่า แบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์และมีความตรงเชิงโครงสร้าง (Chi-square = 24.892, df = 15, ค่า p-value = 0.0514, RMSEA = 0.013, CFI = 0.997 และ SRMR = 0.013) 3. เกณฑ์ปกติสำหรับประเมินความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับสูงมาก มีคะแนนมาตรฐานทีปกติมากกว่า 65 ขึ้นไป มีคะแนนดิบอยู่ระหว่าง 157 – 172 คะแนน ระดับสูงมีคะแนนมาตรฐานทีปกติ อยู่ระหว่าง 55 – 64 มีคะแนนดิบอยู่ระหว่าง 137 – 156 คะแนน ระดับปานกลางมีคะแนนมาตรฐานทีปกติ อยู่ระหว่าง 45 - 54 มีคะแนนดิบอยู่ระหว่าง 117 – 136 คะแนน ระดับต่ำมีคะแนนมาตรฐานทีปกติอยู่ระหว่าง 35 - 44 มีคะแนนดิบอยู่ระหว่าง 97 – 116 คะแนน และระดับต่ำมาก มีคะแนนมาตรฐานทีปกติ ตั้งแต่ 34 ลงมา มีคะแนนดิบอยู่ระหว่าง 0 – 96 คะแนน | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | แบบวัด | th |
dc.subject | ความสามารถคิดบริหารจัดการตน | th |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | th |
dc.subject | Scale | en |
dc.subject | Exscutive Function | en |
dc.subject | Nurse Students | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | การพัฒนาแบบวัดความสามารถคิดบริหารจัดการตนสำหรับนักศึกษาพยาบาล | th |
dc.title | The Development of Executive Function Scale for Nurse Students | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59030374.pdf | 6.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.